ความเหลื่อมล้ำ : แนวคิด สถานการณ์ในประเทศไทย และแนวทางแก้ไข

ผู้แต่ง

  • ภูริวัจน์ ปุณยวุฒิปรีดา นักวิชาการอิสระ

คำสำคัญ:

ความเหลื่อมล้ำ, ประเทศไทย, แนวทางแก้ไขความเหลื่อมล้ำ

บทคัดย่อ

ความเหลื่อมล้ำของสังคมไทยนั้นมีนักวิชาการที่ได้อธิบายไว้ 7 ประเด็น ได้แก่
1. ความเหลื่อมล้ำด้านเศรษฐกิจ 2. ความเหลื่อมล้ำทางสังคม 3. ความเหลื่อมล้ำด้านวัฒนธรรม 4. ความเหลื่อมล้ำด้านการเมือง 5. ความเหลื่อมล้ำทางสิ่งแวดล้อม 6. ความเหลื่อมล้ำเชิงพื้นที่ 7. ความเหลื่อมล้ำทางความรู้ และในปี พ.ศ.2561 ที่ผ่านมาประเทศไทยมีช่องว่างความเหลื่อมล้ำที่มากที่สุดในโลกตามรายงานของ Credit Suisse รายงานความมั่งคั่งทั่วโลก (Global Wealth Report) และ Databook ซึ่งตีพิมพ์เมื่อเดือนธันวาคม 2561 ที่ผ่านมา แสดงให้เห็นว่ากลุ่มคนที่ร่ำรวยที่สุดในประเทศไทยร้อยละ 1 ครอบครองความมั่งคั่งได้เกือบร้อย 67 ของประเทศ

Author Biography

ภูริวัจน์ ปุณยวุฒิปรีดา, นักวิชาการอิสระ

 

References

สมชัย จิตสุชน (2560). ความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย:แนวโน้ม นโยบายและแนวทางขับเคลื่อนนโยบาย สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, สืบค้น 6 กุมภาพันธ์ 2560, จากhttps://tdri.or.th/wp-content/uploads/2017/06/Synthesis-Report-Year-2-Inclusive-Growth.pdf

สฤณี อาชวานันทกุล. (2554). ความเหลื่อมล้ำ ฉบับพกพา. นนทบุรี : สำนักงานปฏิรูป(สปร.)

Arunothai. (2017). Thailand Inequality. Retrieved March 20, 2017, from https: //waymagazine.org/info-inequality-land/

Santasombat, Y. (2017). Social Inequality From the perspective of a social science researcher. Retrieved January 20, 2017, from http: //www.rlc.nrct.go.th/virtual/59/meet_s.php

Pongsawad, P. (2017). Politics inequality, [Retrieved January 20, 2017, from https://www.matichon.co.th/columnists/news_1268407

Sriwong, N. (2017). political inequality. Retrieved January 20, 2017, from https://www.matichon.co.th/article/news_1177141,[January 2020]

Open Development Thailand. (2017). Thailand's inequality is the highest in the world. Retrieved January 20, 2017, from https://thailand.open developmentmekong.net/news

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-06-30

How to Cite