การจัดการความขัดแย้งตามหลักสาราณียธรรม
คำสำคัญ:
การจัดการความขัดแย้ง, หลักสาราณียธรรมบทคัดย่อ
สังคมไทยเกิดปัญหาความขัดแย้งหลายประการ เนื่องจากมีปัจจัยหลายด้านที่ส่งผลกระทบก่อให้เกิดความขัดแย้ง ปัญหาความขัดแย้งในบ้านเมือง สถานการณ์ความรุนแรงของปัญหาเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งมนุษย์เป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดความขัดแย้งในสังคม ในการจัดปัญหาความขัดแย้งสามารถนำหลักธรรมที่เหมาะสมสอดคล้องคือ สาราณียธรรม 6 ซึ่งเป็นธรรมแห่งความระลึกถึงกัน ถือว่าเป็นธรรมที่เป็นพลังในการสร้างความสามัคคี ผู้ใดได้ประพฤติจะเกิดความสามัคคีเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเกื้อกูลกันไม่ทะเลาะวิวาทกันอันจะก่อให้เกิดความรักความสามัคคีกันตลอดไป
References
นพ ศรีบุญนาค. (2545). พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ: สูตรไพศาล.
นิธิตา สิริพงศ์ทักษิณ. (2557). ความขัดแย้งระหว่างชุมชนท้องถิ่นกับหน่วยงานรัฐในการใช้ที่ดินสาธารณประโยชน์ทุ่งสระ จังหวัดพัทลุง (รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
บรรพต ต้นธีระวงศ์. (2547) เอกสารคำบรรยายการเจรจาไกล่เกลี่ยระงับความขัดแย้งในระบบการแพทย์และสาธารณสุขทางเลือกใหม่ที่ท้าทายในโลกยุคปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท.
ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2544). จิตวิทยาการบริหารงานบุคคล. กรุงเทพฯ: พิมพ์ดีด.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมี บุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.
วันชัย วัฒนศัพท์. (2547). ความขัดแย้ง: หลักการและเครื่องมือแก้ปัญหา (พิมพ์ครั้งที่ 2). นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า.
สุพรรณี เกสรินทร์. (2562). บทบาทกำนัน ผู้ใหญ่บ้านในการจัดการปัญหาความขัดแย้งในชุมชนอำเภอ ทุ่งสงจังหวัดนครศรีธรรมราช. สืบค้น 6 มกราคม 2562, จาก http://www.hu.ac.th/Symposium2014/proceedings/data/3501/3501-4.pdf
อุสมาน ซาและ และอับดุลเลาะ ยูโซะ. (2559). ความคิดเห็นของประชาชนต่อบทบาทผู้นำฝ่ายปกครองในเขตอำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา. บทความวิชาการ, 11(20), 115-133.
Follet, M. P. (1997). Dynamic Administration. New jersey: Clifton.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น