พุทธธรรมกับการพัฒนาประชาธิปไตยขั้นหมู่บ้าน

ผู้แต่ง

  • ชไมพร กิติ มูลนิธิไทยพึ่งไทย  

คำสำคัญ:

พุทธธรรม, ประชาธิปไตย, ประชาธิปไตยขั้นหมู่บ้าน

บทคัดย่อ

“ประชาธิปไตยที่แท้ ไม่ใช่แค่การเลือกตั้ง” เพราะประชาธิปไตย คือสิทธิเสรีภาพของประชาชนทุกคน การปรับปรุงปฏิรูประบบประชาธิปไตย เริ่มจากตัวบุคคล หมู่บ้าน ชุมชน สังคม และประเทศชาติ โดยใช้หลักพุทธธรรม มาเป็นหลักการของการอยู่ร่วมกัน มีความหวังดีต่อกัน ไม่ริษยา ไม่ชิงดี ชิงเด่นต่อกัน ไม่ว่าจะด้วยการกระทำหรือจะด้วยการพูด หรือแม้กระทั่งการคิด ด้วยจิตใจที่เปิดกว้างเป็นธรรม สังคมแบบเสรีประชาธิปไตยที่ใจกว้าง จะทำให้ประเทศชาติที่มีความร่ำรวยมั่งคั่งและปรับตัวแก้ปัญหาวิกฤตต่างๆ ได้ดี การนำระบบการเมืองการปกครองที่อยู่บนพื้นฐานของหลักพุทธธรรม มาเป็นแนวทางในการพัฒนาประชาธิปไตยขั้นหมู่บ้านจึงเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญยิ่ง

Author Biography

ชไมพร กิติ, มูลนิธิไทยพึ่งไทย  

 

References

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2536). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ. (2550). ประมวลพระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ พุทธศักราช 2493 - 2548 เล่ม 4. กรุงเทพฯ: กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ.

ชัยอนันต์ สมุทรวณิช. (2526). การเมืองเปรียบเทียบ: ทฤษฎีและแนวความคิด. กรุงเทพฯ: เจ้าพระยาการพิมพ์.

สุดารัตน์ เกยุราพันธ์. (2561). พุทธวิธีเชิงบูรณาการแก้ปัญหาความขัดแย้งในการเมืองไทยปัจจุบัน (ดุษฎีนิพนธ์พุทธศาสตร์ สาขาวิชาพระพุทธศาสนา). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

สุนัย เศรษฐ์บุญสร้าง. (2552). ทางออกวิกฤติความขัดแย้งแตกแยกในระบบสังคมการเมืองไทย. กรุงเทพฯ: บริษัทดินน้ำฟ้าจำกัด.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-30

How to Cite