เทคโนโลยีสารสนเทศกับยุทธศาสตร์เพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ในยุคออนไลน์

ผู้แต่ง

  • พิเชฐ ทั่งโต นักวิชาการอิสระ

คำสำคัญ:

เทคโนโลยีสารสนเทศ, ยุทธศาสตร์เพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนา, ยุคออนไลน์

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้เทคโนโลยี เพื่อให้เป็นยุทธศาสตร์ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในยุคออนไลน์ ใช้การศึกษาจากเอกสาร งานวิจัย การสังเกต แบบมีส่วนร่วมต่อปรากฏการณ์ทางสื่อออนไลน์ ผลการศึกษาพบว่า ในปัจจุบันมีวัดและคณะสงฆ์ใช้การสื่อสารออนไลน์หรือเทคโนโลยีสารสนเทศนานาชนิดในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา แต่ยังมีจำกัด เพียงเฉพาะวัดใหญ่ ๆ หากในอนาคตมีการใช้เทคโนโลยีในการผลิต สร้างองค์ความรู้ เผยแผ่พระพุทธศาสนา ทั้งใน Facebook, Youtube Line Chat และช่องทางอื่น ๆ ในแบบออนไลน์ทั้งหมด ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการสื่อสารและเผยแผ่พระพุทธศาสนาในองค์รวมได้

Author Biography

พิเชฐ ทั่งโต, นักวิชาการอิสระ

 

References

กรกต ชาบัณฑิต และคณะ. (2556). ยุทธศาสตร์การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเชิงรุก. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์, 7(2), 55-67.

ชิณญ์ ทรงอมรศิริ. (2557). แนวทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาด้วยวิธีทางการตลาด. วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 21(1), 12-33.

นาตยา แก้วใส ผะอบ พวงน้อย. (2543). การศึกษาบทบาทวัดพระธรรมกายในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเผยแผ่พระพุทธศาสนาทั่วโลก. วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 7(2), 49-65.

พระครูปลัดบุญยัง ทุลฺลฺโภ พระมหาสมบัติ ธนปญฺโญ. (2558). บทบาทพระสงฆ์กับการเผยแผ่ยุคปัจจุบัน. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2(3), 132-138.

พระครูสุจิตบุญญากร (เนตร สรวมศิริ) และประณต นันทิยะกุล. (2560). การบริหารจัดการด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ภาค 12. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเซีย ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์, 7(1), 88-99.

พระณปวร โทวาท และสัญญา สัญญาวิวัฒน์. (2561). ต้นแบบการบริหารจัดการเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของศูนย์เผยแผ่ พระพุทธศาสนาประจำจังหวัดในประเทศไทย. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์, 14(1), 162-175.

พระสมนึก จรโณ. (2013). การเผยแผ่เชิงรุกของวัดในบริบทสังคมไทยปัจจุบัน. Journal of Yanasangvorn Research Institute Mahamakut Buddhist University, 4(1), 25-34.

เมธี เชษฐ์วิสุต. (2562). สื่อสังคมออนไลน์กับการเผยแผ่พระพุทธศาสนา. วารสารพุทธศาสตร์ศึกษา, 10(2), 521-531.

วิรัชชัย พงษ์เกาะ และดวงกมล ชาติประเสริญ (2557). การหลอมรวมสื่อขององค์กรทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย. วารสารนิเทศศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 32(3), 87-104.

Phantira, J. (2020). รู้หรือไม่ ?! ยอดดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน TikTok ขึ้นสูงมาเป็นอันดับที่ 2. Retrieved January 20, 2020, from https://www.rainmaker.in.th/tiktok-was-downloaded/

Wiltshire (2020). Survey: Social Media Platform and Content Plans for 2020, Retrieved January 20, 2020, from https://www.socialmediatoday.com /news/survey-social-media-platform-and-content-plans-for-2020/569557/

Wittawin, A. (2020). คืออะไร ? ส่องเทรนด์แพลตฟอร์มที่มาแรงสุดในปี 2020. Retrieved January 20, 2020, from https://www.thumbsup.in.th/tiktok-trends-2020 Mansoor. (2020). Line Revenue and Usage Statistics (2020). Retrieved January 20, 2020, from https://www.businessofapps.com/data/line-statistics/

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-30

How to Cite