การบริหารการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามหลักพุทธธรรม
คำสำคัญ:
การบริหาร, การเผยแผ่, พระพุทธศาสนาบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มุ่งศึกษาการบริหารการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามหลักพุทธธรรม เพื่อหาแนวทางใหม่ในการบริหารจัดการการเผยแผ่ที่มีประสิทธิภาพ องค์ประกอบที่สำคัญของการบริหารการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามหลัก คือหลักการบริหาร POCCC และพุทธวิธีการสอน 4 ประการ โดยมีกระบวนการที่สำคัญคือการบูรณาการให้เกิดเป็นแนวทางใหม่ในการบริหารจัดการเผยแผ่ของคณะสงฆ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
References
พระเทพปริยัติสุธี (วรวิทย์ คงฺคปญฺโ). (2552). การคณะสงฆ์และการศาสนา.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระไพศาล วิสาโล. (2552). พระพุทธศาสนาไทยในอนาคต. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2559). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม (พิมพ์ครั้งที่ 34). กรุงเทพฯ: มูลนิธิการศึกษาเพื่อสันติภาพ พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตฺโต).
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
สุชีพ ปุญญานุภาพ. (2524). ศาสนาเปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
Bartol, M. K., & Martin, C. D. (1998). Management (3rd ed.). New York: McGraw-Hill.
Price, A. (2004). Human Resource Management in a Business Context (2nd ed.). London: Thomson Learning.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น