การเมืองภาคพลเมือง: การมีส่วนร่วมทางการเมือง ในระบอบประชาธิปไตย
คำสำคัญ:
การเมืองภาคพลเมือง, การมีส่วนร่วมทางการเมือง, ระบอบประชาธิปไตยบทคัดย่อ
การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนถือว่าเป็นเรื่องที่มีความสำคัญมากต่อการปกครองในระบอบประชาธิปไตยเพราะทำให้เกิดความสมบูรณ์ของการปกครองในระบอบนี้ บทความนี้เขียนขึ้นเพื่อจักต้องการให้ผู้อ่านได้รับทราบถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วมทางการเมืองที่มีต่อการพัฒนาระบอบ ประชาธิปไตย สิทธิ และภาระหน้าที่ของประชาชนในการเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองตามช่องทางและกระบวนการต่าง ๆ ตามที่กฎหมายรัฐธรรมนูญกำหนดไว้ เมื่อประชาชนมีความเข้าใจในกระบวนการมีส่วนร่วมทางการเมืองพร้อมทั้งตื่นตัวเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองมากขึ้นก็จะส่งผลต่อการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยของไทยให้ก้าวหน้าและยั่งยืนยิ่ง ๆ ขึ้นไป บทความวิชาการนี้มุ่งศึกษาทฤษฎีการมีส่วนร่วมทางการเมือง รูปแบบการมีส่วนร่วมทางการเมือง ขั้นตอนการมีส่วนร่วมทางการเมือง และ ระดับและลักษณะการมีส่วนร่วมทางการเมือง
References
นรินทร์ชัย พัฒนพงศา. (2546). หลักการพื้นฐานการมีส่วนร่วม เทคนิคและตัวอย่างกรณี (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ศิริลักษณ์.
สำนักเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2551). การมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สำนักเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. 2551.
สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. (2550). นโยบายสาธารณะ: การวิเคราะห์แนวคิดและกระบวนการของคณะบริหาร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยรัฐประศาสนศาสตร์.
สำนักงานเลขาธิการรัฐสภา. (2561). การมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สำนักงานเลขาธิการรัฐสภา 2561.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น