การส่งเสริมความสมานฉันท์ตามแนวพระพุทธศาสนาสำหรับชุมชน ของวัดพระนารายณ์มหาราชวรวิหาร จังหวัดนครราชสีมา
คำสำคัญ:
ความสมานฉันท์, พระพุทธศาสนา, ชุมชนบทคัดย่อ
บทความนี้เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็น เปรียบเทียบความคิดเห็นและเพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะที่มีต่อการส่งเสริมความสมานฉันท์ตามแนวพระพุทธศาสนาสำหรับชุมชนของวัดพระนารายณ์มหาราชวรวิหาร จังหวัดนครราชสีมา เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี
ผลการวิจัยพบว่า ประชาชน มีความคิดเห็นต่อปัจจัยด้านการบริหารจัดการที่มีต่อการส่งเสริมความสมานฉันท์ตามแนวพระพุทธศาสนา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ปัจจัยส่วนบุคคลต่างกันมีความคิดเห็นแตกต่างกัน จึงยอมรับสมมติฐานการวิจัย ปัญหา และอุปสรรค คือ การจัดจัดกิจกรรมทางพุทธศาสนา ส่วนใหญ่เป็นการจัดกิจกรรมทางพุทธศาสนาในระยะเวลาน้อย จึงทำให้ไม่เกิดประสิทธิ การปฏิบัติต่อกิจกรรมทางพระพุทธศาสนายังขาดข้อมูลที่ทันสมัย การเบียดเบียนด้วยวิธีต่าง ๆ ไม่สามารถทำให้หมดไปได้ การฉ้อโกง เป็นปัจจัยหลักของการทรัพย์สินของการเกิดปัญหา ส่วนข้อเสนอแนะคือ ควรใช้บุคคลที่มีความเชี่ยวชาญสูงหรือเป็นบุคคลที่มีประสบการณ์สูงมาเป็นวิทยากร ควรมีข้อมูลที่ทันสมัย ต่อกิจกรรมทางพระพุทธศาสนามากขึ้น ควรมีการรณรงค์ส่งเสริมลด ละ เลิก ต่อพฤติกรรมที่เกิดความเสี่ยงต่อสังคมและครอบครัวของตน
References
บุษบา บัวพรม และ เพ็ญณี แนรอท. (2561). กระบวนการสร้างความปรองดองสมานฉันท์สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น: กรณีศึกษา เทศบาลตำบลท่าพระ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น. วารสารสถาบันวิจัยพิมลธรรม, 5(1), 213.
พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ. (2555). “การสร้างความปรองดองสมานฉันท์ด้วยการขับเคลื่อนโครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 5 (3), 55-62.
พระราชญาณวิสิฐ (2564). หลักปรองดองสมานฉันท์. สืบค้น 1 มกราคม 2564 http://www.komchadluek.net
สถาบันพระปกเกล้า. (2555). การสร้างความปรองดองแห่งชาติ (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางหารสร้างความปรองดองแห่งชาติ สภาผู้แทนราษฎร.
สุนัย เศรษฐ์บุญสร้าง (2555). ทางสู่ความปรองดองของชาติ. กรุงเทพฯ: แสงดาว.
อุทัย ปริญญาสุทธินันท์. (2556). การจัดการความขัดแย้งเพื่อสร้างความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ของชุมชนควนโส, วารสารวิจัยสังคม, 36(2), 69.
Bloomfiel, D. (2003). Teresa Barnes. and Luc Huyse. Reconciliation After Violent Conflict: Handbook. Stockholm International: Institute.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น