การมีส่วนร่วมทางการเมืองภาคพลเมืองในการทวงผืนป่า ดอยสุเทพ (ป่าแหว่ง) จังหวัดเชียงใหม่
คำสำคัญ:
การมีส่วนร่วมทางการเมือง, การเมืองภาคพลเมือง, การทวงผืนป่าบทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็น เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชน เพื่อศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมทางการเมืองภาคพลเมืองในการทวงผืนป่าดอยสุเทพ (ป่าแหว่ง) จังหวัดเชียงใหม่ เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี พบว่า ประชาชนมีความคิดเห็นต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองภาคพลเมืองโดยภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง ปัจจัยส่วนบุคคลต่างกัน มีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน จึงปฏิเสธสมมติฐานการวิจัย ปัญหา อุปสรรค คือ ช่องทางการเข้าร่วมกิจกรรมมีน้อยและการประชาสัมพันธ์ไม่ทั่วถึง ดังนั้น ควรเพิ่มช่องทางในการเข้าร่วมกิจกรรมให้มากขึ้นและควรมีการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบอย่างทั่วถึง
References
กฤษณ์ ศรีอินทร์สุทธิ. (2555). การเมืองภาคพลเมืองกับคุณภาพการจัดทำแผนพัฒนา 3 ปี ขององค์การบริหารส่วนตำบลขุนศรี อำเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล.
โกวิทย์ พวงงาม. (2553). การจัดการตนเองของชุมชนและท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์.
จวนอรุณ อักษรเสือ. (2549). การมีส่วนร่วมทางการเมืองของนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
จุฑามาศ ประยูรทอง. (2557). การมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษา: กรณีศึกษาเปรียบเทียบนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหงกับมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (ABAC) (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ชัยพร พาณิชอัตรา. (2553). การมีส่วนร่วมของประชาชนในชนบทต่อการปฏิบัติงานตำรวจชุมชนและมวลชนสัมพันธ์ กรณีศึกษา หมู่บ้านหลุก ตำบลเมืองสง่า อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน. (ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการวางแผนและการพัฒนา). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
เทศบาลตำบลสุเทพ. (2562). รายงานสถิติจำนวนประชากรและบ้าน ประจำปี พ.ศ. 2561 ระบบสถิติทางการทะเบียน กรมการปกครอง. สืบค้น 10 เมษายน 2562, จาก http:// stat.bora.dopa.go.th.
ปรัชญ์ รุจิวนารมย์. (2562). ฟื้นฟูหมู่บ้านแหว่งเชียงใหม่ยังไม่คือเครือข่ายประชาชนเตรียมเคลื่อนไหวต่อเร็วๆนี้. สืบค้น 10 เมษายน 2562, จาก http://wiki.kpi.ac.th/index.php
พระกฤษฎายุทธ ธมฺมวโร (เต๋จ๊ะดี). (2562). การมีส่วนร่วมทางการเมืองภาคพลเมืองในการทวงผืนป่าดอยสุเทพ (ป่าแหว่ง) จังหวัดเชียงใหม่ (สารนิพนธ์ปริญญารัฐศาสตรมหาบัณฑิต). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระครูพัชรกิตติโสภณ. (2561). แนวทางการอนุรัก์ป่าไม้อย่างยั่งยืนเชิงพุทธบูรณาการ (วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีนิพนธ์ สาขาวิชาพระพุทธศาสนา). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ศุภวัธ มีบุญธรรม. (2547). การรับรู้ข่าวสารทางการเมืองกับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนิสิตนักศึกษา: ศึกษาเฉพาะกรณีนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สมนึก ปัญญาสิงห์. (2558). การพัฒนาการเมืองภาคพลเมืองกับกระบวนการพัฒนาประชาธิปไตยชุมชน:กรณีศึกษา ตำบลนาชุมแสง อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น (วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุจินต์ ธรรมชาติ. (2549). การวิจัยภาคปฏิบัติวิธีลัด. นครปฐม: มหาวิทยาลัย
มหามกุฏราชวิทยาลัย.
อนุรักษ์ เก่งเรียน. (2557). การก่อตัวของธรรมาธิปไตยกับการเมืองภาคพลเมืองในสังคมไทยช่วงปี พ.ศ. 2547-2557 (วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการเมือง). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
อัมฤตา สารธิวงค์. (2558). การมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่หลังการรัฐประหาร วันที่ 19 กันยายน 2549 ถึง พ.ศ. 2551 (สารนิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
เอกภพ ลิมปวิบูล. (2548). การมีส่วนร่วมทางการเมืองของนิสิตระดับปริญญาตรี คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น