หลักธรรมาธิปไตย: การแก้ปัญหาคอรัปชั่นในสังคมไทย

ผู้แต่ง

  • พระชินกร สุจิตฺโต วัดชูจิตธรรมาราม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

คำสำคัญ:

ธรรมาธิปไตย, การคอรัปชั่น, สังคมไทย

บทคัดย่อ

สังคมไทยมีปัญหาหลายปัญหา ไม่ว่าจะเป็นปัญหาเศรษฐกิจ ปัญหาสังคม ปัญหาสิ่งแวดล้อม ปัญหาโสเภณี เป็นต้น แต่มีปัญหาหนึ่งที่คนไทยไม่ให้ความสำคัญอย่างเพียงพอและยังมีปัญหาที่สำคัญของสังคมไทย คือปัญหาการคอรัปชั่น ซึ่งการที่จะแก้ไขปัญหาการคอรัปชั่นได้ต้องใช้หลายวิธีการเข้าช่วย หรือร่วมกันแก้ไขโดยมวลรวม โดยมีทฤษฎีหลาย ๆ อย่างแตกต่างกันออกไป เช่น “หลักนิติรัฐ” คือรัฐที่อยู่หรือปกครองภายใต้กฎหมาย หรือใช้กฎหมายควบคุม “หลักการตรวจสอบอำนาจรัฐ” คือเป็นการตรวจสอบอำนาจรัฐโดยองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน เป็นต้น โดยในปัจจุบันสังคมไทยได้มีกลุ่มคนบางส่วนหรือหลาย ๆ องค์กรไม่ว่าจะเป็นภาครัฐหรือเอกชน ในการทำงานตรวจสอบซ้ำ การทำงานของภาครัฐ บทความนี้ได้นำเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาการทุจริตคอรัปชั่น 2 ระดับ คือระดับปัจเจกบุคคล โดยการสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ และระดับสังคม ได้แก่การประยุกต์ใช้แนวคิดหลักธรรมาธิปไตย ซึ่งแนวคิดต่าง ๆ ที่กล่าวล้วนปรากฏหรือมีอยู่ในสังคมไทยอยู่แล้ว ซึ่งขึ้นอยู่กับทุกฝ่ายว่าต้องร่วมดำเนินการอย่างจริงจังและต่อเนื่องอย่างไร ตั้งแต่ระดับครอบครัว โรงเรียน องค์การประชาคม และสังคมภาพรวม เพื่อสร้างระบบบริหารจัดการบ้านเมืองและสังคมที่ดีในทุกภาคส่วนของสังคม

References

จรัส สุวรรณเวลา. (2546). จุดบอดบนทางสู่ธรรมาภิบาล: บทบาทของบอร์ดองค์การมหาชน.กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปกรณ์ มณีปกรณ์ . (2549). มุมมองสังคมไทยแบบบูรณาการ. กรุงเทพฯ: เวิลด์เทรด ประเทศไทย.

ประเวศ วะสี. (2546). ธรรมาภิบาลกับคอรัปชั่นในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: มปท.

พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2549). พุทธวิธีบริหาร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต). (2562). ธรรมาธิปไตยไม่มา จึงหาประชาธิปไตยไม่เจอ. สืบค้น 29 มกราคม 2562, จาก http://www.nidambe11.net

พระมหาธานินทร์ อาทิตวโร. (2555). การพัฒนาสังขารเพื่อการบรรลุธรรมในพระพุทธศาสนาเถรวาท (วิทยานิพนธ์ พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

________. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

วริยา ชินวรรโณ และกุหลาบ รัตนสัจธรรม.(2546). จริยธรรมในวิชาชีพ การศึกษา วิเคราะห์

วิทยากร เชียงกูล. (2549). แนวทางปราบคอรัปชั่นอย่างได้ผล. กรุงเทพฯ: สายธาร.

สังเคราะห์ภาพรวมจรรยาบรรณวิชาชีพในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: มปท.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-22

How to Cite