การสร้างพระใหญ่เพื่อสืบทอดและรักษาพระพุทธศาสนา สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์บนฐานพุทธธรรม: กรณีศึกษาวัดม่วงชุม จังหวัดสิงห์บุรี

ผู้แต่ง

  • สมชาย ลำภู วัดอินทาราม จังหวัดสมุทรสงคราม

คำสำคัญ:

การสร้างพระใหญ่, สืบทอดและรักษาพระพุทธศาสนา, เศรษฐกิจสร้างสรรค์บนฐานพุทธธรรม

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการสร้างพระใหญ่เพื่อสืบทอดและรักษาพระพุทธศาสนา สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์บนฐานพุทธธรรม :  กรณีศึกษาวัดม่วงชุม จังหวัดสิงห์บุรี โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ศึกษาจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การสัมภาษณ์แบบเจาะจง รวมไปถึงการศึกษาอาณาบริเวณศึกษาของวัดม่วงชุม จังหวัดสิงห์บุรี

ผลการศึกษาพบว่า  วัดม่วงชุมแนวจัดสร้างพระใหญ่เพื่อเป็นการอุทิศให้กับให้กับปิยชน “ชาวบ้านบ้างระจัน” ชุมชนปกป้องตัวเองในอดีตนับแต่ครั้งอยุธยา ทั้งเพื่อเป็น “พุทธานุสติ” ระลึกเคารพในพระพุทธเจ้า เป็นอีกวิธีการในการสืบทอดและรักษาพระพุทธศาสนา  รวมทั้งเข้าไปจัดการท่องเที่ยวการที่เกิดจากพระใหญ่ ร่วมกับโครงการทัวร์บุญ 9 วัด  อาทิ พระนอนจักรสีห์ พระใหญ่วัดพิกุลทอง ตลาดน้ำโบราณบางระจัน เพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนตามแนวหลักเศรษฐกิจสร้างสรรค์ตามหลักพุทธธรรม โดยใช้ช่องทางการสื่อสารประชาสัมพันธ์ทางสื่อสาธารณและสื่อออนไลน์ จนวัด ได้รับ คัดเลือก เป็นวัดสวย ในเมืองไทย   ได้รับการประชาสัมพันธ์ทางเพจ unseen Tour Thailand

References

กอบกาญจน์ เหรียญทอง. (2556). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการท่องเที่ยวตลาดน้ำอัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม (สารนิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสยาม.

กุลจิรา เสาวลักษณ์จินดา. (2555). การมีส่วนร่วมของชุมชนต่อการจัดการแหล่งท่องเที่ยว : กรณีศึกษา อำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี (ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต วิชาเอกการจัดการทั่วไป). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

กรรณิกา คำดี. (2015). วัดและศาสนสถานในมิติของการท่องเที่ยว. วารสารบัณฑิตศึกษา มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 4(2),175-191.

ณกมล ขาวปลายนา. (2544). มิติสารัตถจากภูมิปัญญาไทยสู่ปัญญาธรรม : ข้อพิจารณาเชิงปรัชญาเกี่ยวกับพุทธศิลป์สมัยสุโขทัย. วารสารศรีปทุมปริทัศน์, 1(1), 67-79.

ประกอบศิริ ภักดีพินิจ. (2551). รายงานการวิจัยการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน : กรณศึกษาการท่องเที่ยวทางน้ำชุมชนริมคลอง เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล.

ภัชรบถ ฤทธิ์เต็ม. (2556). รูปแบบการจัดการท่องเที่ยวเชิงศาสนาและวัฒนธรรมในวัด. (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระศรีสุทธิพงศ์ (สมส่วน). (2560). พระเจดีย์ : การบูชาในพระพุทธศาสนา . วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์, 2(1), 35-45.

พิริยะ ไกรฤกษ์. (2551). ลักษณะไทยพระพุทธปฏิปมาอัตลักษณ์พุทธศิลป์ไทย. กรุงเทพฯ: บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน).

รสิกา อังกูร และคณะ. (2546). รูปแบบการจัดการศึกษาและการเผยแผ่ศาสนธรรมของวัดในพระพุทธศาสนา กรณีศึกษาแหล่งการเรียนรู้ของวัดเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารกรุงเทพมหานคร (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (สกศ.).

สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดสิงห์บุรี. (2560). ข้อมูลจังหวัดสิงห์บุรี : เขตพัฒนาการท่องเที่ยววิถีชีวิตลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาตอนกลาง. สืบค้น 5 มกราคม 2561, จาก https://singburi.mots.go.th

สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดสิงห์บุรี. (2564). สถิติจำนวนนักท่องเที่ยวและรายได้จังหวัดสิงหบุรี พ.ศ.2561. สืบค้น 15 กันยายน 2564, จาก https://singburi. mots.go.th/graph_views.php?graph_id=25

อุไรวรรณ ไทรชมภู. (2547). การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนเพื่อชุมชนบางกะเจ้า: ศึกษาเฉพาะกรณี ตำบลบางน้ำผึ้ง อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.

พระมหาจินตวัฒน์ จารุวฑฒโน. (2560). รายการส่องธรรม ช่อง 5 : กิจกรรมจากวัดม่วงชุม ตำบลไม้ดัดอำเภอบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี. สืบค้น 24 ธันวาคม 2560. จาก https://www.youtube.com/watch?v=wnZ5ndRAiC0

พระมหาจินตวัฒน์ จารุวฑฒโน. (2560, 21 ธันวาคม). เจ้าอาวาสวัดม่วงชุม จังหวัดสิงห์บุรี [สัมภาษณ์].

Christian, F. (2005). The Giant Buddhas . Documentary, Switzerland. Retrieved December 30, 2019, From http://www.giantbuddhas.com /en/downloads/dossier.pdf

Sarah J. H. (2007). Living Buddhist Statues in Early Medieval and Modern Japan, New York. Retrieved December 30, 2019, From http://www.khamkoo.com/uploads/9/0/0/4/9004485/living_buddhist_statues_in_early_medieval_and_modern_japan__2007.pdf

Jiaming, L., & Chunjing, Z. R. (2008). Protecting and Transmitting the Tangible and Intangible Buddhist Spirit of Leshan Giant Buddha. Retrieved December 30, 2019. From https://www.icomos.org/quebec2008/cd/toindex/77_pdf/ 77-L8qG-142.pdf

Unesco. (1956). Twenty-Five centuries of Buddhist Art and Culture. Retrieved December 30, 2019. From http://unesdoc.unesco.org/images/0006/ 000689/068910eo.pdf

Quanyu, W. & Sascha, P. (2013). Scientific analysis of a Buddha attributed to the Yongle period of the Ming dynasty. Retrieved December 30, 2019. From https://www.britishmuseum.org/pdf/BMTRB_7_Wang_and_Priewe.pdf

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-30

How to Cite