เครือข่ายพระสงฆ์สาธารณะสงเคราะห์ของหลวงพ่อแดง นนฺทิโย: กับการช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่น้ำท่วมซ้ำซ้อน จังหวัดสุโขทัย

ผู้แต่ง

  • พระเอกลักษณ์ อชิตโต วัดอินทาราม จังหวัดสมุทรสงคราม
  • พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณ วัดอินทาราม จังหวัดสมุทรสงคราม
  • สมชาย ลำภู วัดอินทาราม จังหวัดสมุทรสงคราม
  • พระปลัดระพิน พุทธิสาโร วัดอินทาราม จังหวัดสมุทรสงคราม
  • สุภัทรชัย สีสะใบ วัดอินทาราม จังหวัดสมุทรสงคราม

คำสำคัญ:

เครือข่ายพระสงฆ์สาธารณะสงเคราะห์, หลวงพ่อแดง นนฺทิโย, การช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่น้ำท่วมซ้ำซ้อน จังหวัดสุโขทัย

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาแนวทางการสาธารณะสงเคราะห์อันเป็นเครือข่ายของหลวงพ่อแดงง นนฺทิโย ที่เข้าไปมีบทบาทในการช่วยเหลือสังคมส่วนร่วม ใช้วิธีการศึกษาจากเอกสาร งานวิจัย การลงพื้นที่เก็บข้อมูล สัมภาษณ์ และสอบถามจากบุคคลที่เกี่ยวข้องเขียนเป็นบทความเรียงในรูปแบบบทความวิชาการ

          ผลการศึกษาพบว่า หลวงพ่อแดง นนฺทิโย ได้ขับเคลื่อนกิจกรรมผ่านโครงการหมู่บ้านศีล 5 และเชื่อมโยงกับเครือข่ายพระสงฆ์ในพื้นที่จังหวัดสุโขทัย  เพื่อขยายงานคณะสงฆ์สาธารณะสงเคราะห์ ทำให้เกิดการเชื่อมโยง ช่วยเหลือบรรเทาสาธารณภัยเบื้องต้นส่งต่อเครื่องอุปโภคบริโภค และงบในการเยียวยาช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำท่วมซ้ำซ้อนในเขตจังหวัดสุโขทัย ในช่วง พ.ศ.2563 และกลุ่มพระสงฆ์สาธารณสงเคราะห์ในเขตพื้นที่กับคณะสงฆ์ส่วนกลางในช่วง พ.ศ.2563 ทำให้เห็นว่าพระสงฆ์มีบทบาทผ่านเครือข่ายร่วมกันในการให้ความช่วยเหลือประชาชนในสถานการณ์น้ำท่วมจังหวัดสุโขทัย ภายใต้แนวคิดเครือข่ายของพระสงฆ์สาธารณสงเคราะห์ช่วยบรรเทาภัยของประชาชนและพระไม่ทิ้งโยม

References

เขมิกา วริทธิ์วุฒิกุล และคณะ. (2563). ปัญหาและความต้องการของชุมชนในการจัดการทรัพยากรน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำยม. วารสารนานาชาติ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 11(1), 95-125.

ชยา วรรธนะภูติ. (2561). “โลกพันทาง” ของลุ่มน้ำ ปลา และผู้คน แห่งบ้านกง อำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย: มุมมองเชิงภูมิศาสตร์มนุษย์. วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา, 37(2), 130-160.

ชยา วรรธนภูติ และรัตนาภรณ์ พุ่มน้อย. (2561). “โลกพันทาง” ของลุ่มน้ำ ปลา และผู้คน แห่งบ้านกง อำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย: มุมมองเชิงภูมิศาสตร์มนุษย์. วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา, 37(2), 130-160.

ชัยวัฒน์ ขยันการนาวี และฉลอง เกิดพิทักษ์. (2009). แนวคิดในการศึกษาเพื่อลดปัญหาน้ำท่วมและภัยแล้งในลุ่มน้ำยม. วารสารวิศวกรรมสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร, 3(1), 1-7.

ทรงชัย ทองปาน. (2560) ยุทธวิธีในการเคลื่อนไหวทางสังคมของ “กลุ่มไม่เอาเขื่อนแก่งเสือเต้น”. วารสารสำนักบัณฑิตอาสาสมัคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 13(2), 46-82.

ทับทิม วงศ์ทะดา. (2559). “การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงน้ำท่วมโดยกระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์ บริเวณลุ่มน้ำยมตอนล่าง จังหวัดสุโขทัย, สืบค้น 20 เมษายน 2563, http://www.agi.nu.ac.th/nred/Document/is-PDF/2559/geo_2559_05_Full Paper.pdf

ไทยรัฐออนไลน์, (2563). สุโขทัยอ่วม น้ำหลากท่วม 3 อำเภอ ต้องย้ายควายหนี. สืบค้นเมื่อ 21 กันยายน 2563. จาก https://www.thairath.co.th/news/local/north/2199360

________. (2563). นายกฯ นำคณะ ไป จังหวัดสุโขทัย ตรวจน้ำท่วม-มอบถุงยังชีพ ช่วยผู้ประสบอุทกภัย. สืบค้น 28 กันยายน 2563, จาก https://www.thairath.co.th/news/politic/2203390

ไทยโพสต์ออนไลน์. (2563). สุโขทัยยังอ่วม! เดือดร้อน3อำเภอ 5,700 ครัวเรือน. สืบค้นเมื่อ 26 สิงหาคม 2563. จาก https://www.thaipost.net/main/detail/75600

นรินทร์ นำเจริญ,มนฤทัย ไชยวิเศษ. (2556). บทบาททางการเมืองของพระร่วงในฐานะวีรบุรุษในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของไทย มอญ และเขมร. วารสารศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้, 1 (2), 125-144.

ปิยะดา วชิระวงศกร และณัฏฐิณี ดีแท้. (2559). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันปัญหาอุทกภัยในพื้นที่ลุ่มน้ำยมตอนล่าง. วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อม, 12(2), 4-23.

พระครูโอภาสกันตศีล. (2563, 28 สิงหาคม). เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ศรัทธาธรรม (วัดปากแคว) จังหวัดสุโขทัย [สัมภาษณ์].

โพสต์ทูเดย์ออนไลน์. (2561). 22 ส.ค.มวลน้ำเหนือ ทะลักถึงสุโขทัย-เตือนภัยเขตศก. สืบค้น 21 สิงหาคม 2561, จาก https://www.posttoday.com/politic/report/561484

ภัทร ชมภูมิ่ง และคณะ. (2558). รูปแบบการอภิบาลเครือข่ายในการจัดการทรัพยากรน้ำ : ศึกษากรณีพื้นที่ภูมิภาคลุ่มน้ำยม. วารสารสักทอง:วารสารมนุษยศาสตร์, 21 (3),145-159.

ภัคเกษม ธงชัย และดนัย ทายตะคุ (2563). การเปลี่ยนแปลงของภูมิทัศน์พลวัตน้ำหลากในลุ่มแม่น้ำยม กรณีศึกษา ชุมชนบ้านกง อำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย. สาระศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 4(2), 341-375.

มติชนออนไลน์. (2563). สุโขทัยอ่วม น้ำท่วมที่เศรษฐกิจ การเดินทางเป็นอัมพาต ก่อนนายกฯลงพื้นที่พรุ่งนี้. สืบค้น 25 กันยายน 2563, จาก https://www.matichon.co.th /region/news_2957492

สาธิต วงศ์อนันต์นนท์. (2554). วิกฤตน้ำท่วมประเทศไทย 2554 กับผลกระทบทางสังคมกลุ่มงานวิจัยข้อมูลสำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. สืบค้น 25 กันยายน 2563, จาก http://library.senate.go.th/document/Ext3130/3130446_0004.PDF

สำนักข่าว INN ออนไลน์. (2562). สุโขทัย น้ำท่วมอีก พนังกั้นน้ำแตก ไหลทะลักเข้าท่วมหนักกว่า 5 อำเภอ. สืบค้น 4 กันยายน 2562, จาก https://hilight.kapook.com /view/193036
อัศวิน โกมลเมนะ. (2517). เศรษฐกิจสุโขทัยสมัยพ่อขุนรามคำแหง (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

Thai PBS ออนไลน์. (2563). "สุโขทัย" พนังกั้นน้ำยมแตก ทะลักท่วมบ้าน 200 หลัง. สืบค้น 23 สิงหาคม 2563, จาก https://news.thaipbs.or.th/content/295739

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-30

How to Cite