อิทธิบาทธรรม : พื้นฐานคุณธรรมของบุคลากรกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
คำสำคัญ:
อิทธิบาทธรรม, บุคลากรบทคัดย่อ
ในการสร้างความเข้มแข็งให้แก่ระบบเศรษฐกิจและการบริหารทรัพยากรมนุษย์ซึ่งเป็นหนึ่งที่ควรตระหนักและยอมรับกันโดยทั่วไปแล้วว่า ทรัพยากรมนุษย์นั้นนับได้ว่าเป็นทรัพยากรการบริหารที่สำคัญที่สุดซึ่งได้มีพันธกิจที่ต้องบริหารจัดการรวมไปถึงการสร้างความยั่งยืนด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานของประเทศเพื่อให้เกิดการผลิตและการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมส่งเสริมประสิทธิภาพการใช้พลังงานฝึกอบรมเพื่อให้เกิดความรู้ ความชำนาญและทักษะในการปฏิบัติงานมากขึ้น เพื่อให้คุณประสบความสำเร็จในการทำงานตลอดถึงการส่งเสริมประสิทธิภาพการปฏิบัติงานตามหลักคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าเพื่อจะใช้หลักการ และแนวคิดให้ประสบผลสำเร็จตามหลักอิทธิบาทที่พระพุทธองค์ได้ตรัสไว้ในพระไตรปิฎก น้อมนำมา เป็นข้อปฏิบัติหรือเป็นแนวทางให้ประสบผลสำเร็จส่งให้กิจที่ทำนั้นดำเนินไปอย่างได้ผลดีด้วยด้วยหลักคุณธรรมประสิทธิภาพการปฏิบัติงานบนพื้นฐานคุณธรรมของบุคลากรกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
References
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน. (2564). ประวัติความเป็นมา. สืบค้น 25 ธันวาคม 2564, จาก https://www.dede.go.th
ดารณี จุนเจริญวงศา. (2548). การจัดการความรู้. ชลบุรี: สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดชลบุรี กลุ่มส่งเสริมสนับสนุนวิชาการ.
นพพงษ์ บุญจิตราดุล. (2549). หลักการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: ศูนย์การพิมพ์.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2542). พุทธธรรม (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ภักดี รัตนมุขย์. (2561). THAILAND 4.0 ตอบโจทย์ประเทศไทย?. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ปัญญาชน.
สมจิตต์ สุพรรณทัศน์. (2547). เอกสารการสอนชุดวิชาสุขศึกษา หน่วยที่ 1-7 สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สร้อยตระกูล (ติวยานนท์) อรรถมานะ. (2545). พฤติกรรมองค์กร : ทฤษฎีและการประยุกต์.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อัครเดช ไม้จันทร์ และนุจรีย์ แซ่จิว. (2561). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานกลุ่มอุตสาหกรรมติดตั้งเครื่องสายการผลิตในจังหวัดสงขลา. วารสารราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 5(1), 95-122.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น