การมีส่วนร่วมของเยาวชนโดยใช้พุทธสถานเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้

ผู้แต่ง

  • ชัชนิธิฐา ชัชวาลวงศ์ บริษัท มี้ด จอห์นสัน นิวทริชัน (ประเทศไทย) จำกัด

คำสำคัญ:

การมีส่วนร่วม, เยาวชน, พุทธสถาน, ศูนย์กลางการเรียนรู้

บทคัดย่อ

การมีส่วนร่วมของเยาวชนนั้นเป็นการมีส่วนร่วมที่ทำให้เกิดพลังมากมาย โดยเฉพาะพลังการขับเคลื่อนในด้านการเมืองการศึกษาสังคมและอีกมากมายซึ่งในการขับเคลื่อนในลักษณะนี้ทำให้เกิดเป็นกลไกในการพลักดันสังคมให้มีวิวัฒนาการเป็นไปอย่างรวดเร็ว ทั้งการช่วยเหลือสังคม แต่การมีส่วนร่วมของเยาวชนโดยใช้พุทธสถานเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้นั้น เป็นสิ่งที่เยาวชนนั้น ควรให้ความสำคัญ เช่น การมีส่วนร่วมในการศึกษาพระพุทธศาสนา การมีส่วนร่วมในการคิดหรือรวมไปถึงการปกป้องพระพุทธศาสนาโดยให้พระพุทธศาสนานั้นเป็นศูนย์กลางของชีวิตในความเป็นพุทธศาสนิกชนที่พึงจะประพฤติปฏิบัติได้โดยความเป็นพลเมืองในสังคม ความเป็นชาวพุทธ เพื่อให้พระพุทธศาสนานั้นยังคงเป็นศาสนาที่ช่วยฟื้นฟูจิตใจ ของเยาวชนให้เป็นคนดี มีศีลธรรม โดยในคำว่า “ศีลธรรม” เพื่อให้เกิดความเจริญงอกงามในชีวิต และเพื่อ “ปฏิบัติตามหลักคำสอนทางพุทธ” เพื่อ “ยึดความบริสุทธิ์เป็นศูนย์กลาง” และ“สร้างแนวทางที่ดีในสังคม”เพื่อเป็นการสืบทอดอายุพระพุทธศาสนาตามหลักการของคำสอนต่อ ๆ ไป

References

ผู้จัดการออนไลน์. (2561). ความหมายของวัด (ในพระพุทธศาสนา). สืบค้น 10 พฤษภาคม 2565, จาก https://mgronline.com/infographic/detail/9610000073751

พระธรรมกิตติวงศ์. (2551). พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ (คำวัด) (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ธรรมสภาและสถาบันบันลือธรรม

มูลนิธิสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน. (2539). ประวัติความเป็นมาของเจดีย์. สืบค้น 10 พฤษภาคม 2565, จาก https://shorturl.asia/KmWd0

ลานธรรมจักร. (2556). ที่พักสงฆ์ สำนักสงฆ์ และวัด. สืบค้น 10 พฤษภาคม 2565, จาก http://www.dhammajak.net/forums/viewtopic.php?t=45731

วัลลภ รัฐฉัตรานนท์ และรัตนาวดี ลำพาย. (2563). การมีส่วนร่วมทางการเมืองของเยาวชนไทย : มูลเหตุ รูปแบบ และผลที่เกิดขึ้นตามมา. วารสารรัฐศาสตร์ปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 7(1), 1-18.

ศักดิ์สิทธิ์ พันธุ์ศักดิ์. (2561). หนังสือเรียนและแนวข้อสอบ ธรรมศึกษา ชั้นโท ระดับอุดมศึกษาและประชาชนทั่วไป. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เลี่ยงเซียง.

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2561). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. (พิมพ์ครั้งที่ 32). กรุงเทพฯ: สหธรรมิก.

สมบัติ นามบุรี. (2562). ทฤษฎีการมีส่วนร่วมในงานรัฐประศาสนศาสตร์. วารสารวิจยวิชาการ, 2(1), 183-197.

สรฤทธ จันสุข. (2553). ความหมายการมีส่วนร่วม. สืบค้น 10 พฤษภาคม 2565, จาก https://www.gotoknow.org/posts/328530

สันติชัย เอื้อจงประสิทธิ์. (2551). สาระสำคัญของการมีส่วนร่วมของบุคลากร. กรุงเทพฯ: สามเจริญพานิชย์.

สาคร มหาหิงค์. (2556). ความหมายของการมีส่วนร่วมและหลักสำคัญในการมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนา. สืบค้น 10 พฤษภาคม 2565, จาก https://shorturl.asia/DLhJb

สารานุกรมเสรี. (2564). เจดีย์. สืบค้น 10 พฤษภาคม 2565, จาก https://shorturl.asia/meQNt

สารานุกรมเสรี. (2564). วิหาร. สืบค้น 10 พฤษภาคม 2565, จาก https://th.wikipedia.org/wiki/วิหาร

สารานุกรมเสรี. (2564). อุโบสถ. สืบค้น 10 พฤษภาคม 2565, จาก https://th.wikipedia.org/wiki/อุโบสถ

สารานุกรมเสรี. (2565). วัด อาวาส อาราม. สืบค้น 10 พฤษภาคม 2565จาก https://th.wikipedia.org/wiki/วัด

องค์กรยูนิเซฟแห่งประเทศไทย. (2559). การพัฒนาวัยรุ่นและการมีส่วนร่วมของวัยรุ่น. สืบค้น 10 พฤษภาคม 2565, จาก https://shorturl.asia/12znw

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-03

How to Cite