การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในศตวรรษใหม่
คำสำคัญ:
การพัฒนา, ทรัพยากรมนุษย์, หลักพรหมวิหาร 4บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้ เป็นการนำเสนอแนวคิดในการบูรณาการหลักธรรมของพระพุทธศาสนา ได้แก่ หลักพรหมวิหาร 4 เพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในศตวรรษใหม่ ซึ่งประกอบด้วย เมตตา ความปรารถนาให้ผู้อื่นได้รับสุข, กรุณา ความปรารถนาให้ผู้อื่นพ้นทุกข์ มุทิตา ความยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดี อุเบกขา การรู้จักวางเฉย มาประยุกต์ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ตามหลักของศาสตร์ทางตะวันตก ศาสนาเป็นหนึ่งในพลังที่มีอำนาจให้ความรู้ลึกซึ้ง และมีอิทธิพลต่อชีวิตครอบครัว ชุมชน เศรษฐกิจ และการเมือง การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยใช้พุทธธรรมมาช่วยยกระดับจริยธรรมนั้นเป็นประโยชน์ที่สำคัญพุทธธรรมมิใช่เป็นกฎธรรมชาติที่จะบอกมนุษย์เรื่องความดีความชั่วเท่านั้น พุทธธรรมยังเป็นเครื่องชี้นำแนวทางในการดำรงชีวิตของมนุษย์ไปสู่ชีวิตที่ดีอีกด้วย ดังนั้นการประยุกต์พุทธธรรมทั้งในระดับโลกิยธรรมและโลกุตรธรรมในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์จึงเป็นประโยชน์ต่อมนุษย์ทั้งในฐานะปัจเจกบุคลากรและในฐานะทรัพยากรขององค์การและประเทศชาติ ทำให้คนเป็นมนุษย์ที่มีทั้งความเก่ง ความดี และความสุข หลักไตรสิกขาสามารถเสริมสร้างการพัฒนาการบริหารบุคลากรให้เป็นคนมีความประพฤติดี มีคุณธรรม มีความรู้ความสามารถ มีศักยภาพสูง อันจะนำพาให้องค์กรไปสู่เป้าหมายที่ตั้งไว้ และเป็นองค์กรที่มั่นคง ยั่งยืน สืบต่อไป
References
กรรณิการ์ สุวรรณศรี. (2548). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ หน่วยที่ 1-2. นครปฐม: มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม.
จิระ หงส์ลดารมณ์. (2535). เอกสารประกอบการสอนชุดวิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์หน่วยที่ 1-6. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชเครื่องหมาย.
ชูชัย สมิทธิไกร. (2538). การพัฒนาบุคลากรโดยกลุ่มสร้างสรรค์ความว่างามทั้งจิตใจ. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ธงชัย สมบูรณ์. (2549). การบริหารและจัดการทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร. กรุงเทพฯ: ปราชญ์สยาม.
ธงชัย สันติวงษ์. (2537). องค์การและการบริหาร (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
ธีรยุทธ์ หล่อเลิศรัตน์. (2535). การศึกษาวิจัยเพื่อกำหนดเป้าหมายและแนวทางการพัฒนาบุคลากร พ.ศ. 2535-2539. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยปทุมธานี.
นพ ศรีบุญนาค. (2546). ศาสตร์การจัดการ. กรุงเทพฯ: สูตรไพศาล.
บรรจง ชูสกุลชาติ. (2534). เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่องการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์กับสังคมอุตสาหกรรมในทศวรรษหน้า. กรุงเทพฯ: มหานครวิทยาลัยครูจันทร์เกษมและวิทยาลัยครูพระนคร.
บริษัท ไอโอดี คอนเซาท์ติ้ง แอนด์ เทรนนิ่ง จำกัด. (2565). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ในศตวรรษใหม่. สืบค้น 23 มกราคม 2564, จาก http://www.krittin.net
พระครูสุนทรวัชรกิจ (บุญธรรม ธมฺมิโก). (2556). กลยุทธ์การจัดการทรัพยากรมนุษย์ของคณะสงฆ์จังหวัดเพชรบุรี (พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระครูสุนทรวัชรกิจ บุญธรรม ธมฺมิโก. (2556). กลยุทธ์การจัดการทรัพยากรมนุษย์ของคณะสงฆ์จังหวัดเพชรบุรี (พุทธศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการเชิงพุทธ). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2553). การศึกษากับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: โรง พิมพ์กรมการศาสนา.
พะยอม วงศ์สารศรี. (2548). องค์การและการจัดการ (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สถาบันราชภัฏสวนดุสิต.
มัทนา วังถนอมศักดิ์. (2550). ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันของบุคลากรในมหาวิทยาลัยเอกชน (ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สำนักโฆษก. (2565). รัฐบาลไทย. สืบค้น 23 มกราคม 2564, จาก https://www.thaigov.go.th/news/
สัญญา สัญญาวิวัฒน์. (2551). การบริหารจัดการแนวพุทธ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2564). แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 - 2564). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
Feodor Mikhaylov and others. (2014). Current tendencies of the development of service of human resources management. Procedia - Social and Behavioral Sciences, 150(2014), 330–335.
Judith, A. (2000). Rubrics scoring guide and performance criteria: Classroom tool for assessment and Improving student learning, Eric document reproduction service No (Ed 446100). Paper present at annual meeting of the American Educational Research.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น