ความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) ตามหลักสังคหวัตถุธรรมขององค์กรภาคเอกชน
คำสำคัญ:
สังคหวัตถุธรรม, ความรับผิดชอบต่อสังคม, องค์กรภาคเอกชนบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มุ่งนำเสนอความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) ตามหลักสังคหวัตถุธรรมขององค์กรภาคเอกชน เป็นการแสดงออกในพฤติกรรมที่แสดงถึงการสงเคราะห์กันในสังคม โดยองค์กรภาคเอกชน ได้แก่ 1) การสงเคราะห์กันในสังคมโดยการให้ทาน การให้ การเสียสละ การแบ่งปันเพื่อประโยชน์แก่คนในสังคม ช่วยปลูกฝังให้เป็นคนที่ไม่เห็นแก่ตัว 2) ปิยวาจา การสงเคราะห์กันในสังคมโดยการใช้คำพูดต่อคนในสังคมด้วยถ้อยคำไพเราะจริงใจ พูดในสิ่งที่เป็นประโยชน์ เหมาะกับกาลเทศะ พูดดีต่อกัน 3) อัตถจริยา การสงเคราะห์กันในสังคมโดยการช่วยเหลือคนในสังคม และ 4) สมานัตตตา การสงเคราะห์กันในสังคมโดยการเป็นผู้มีความสม่ำเสมอ โดยประพฤติตัวให้มีความเสมอต้นเสมอปลาย วางตัวดีต่อคนในสังคม ซึ่งพฤติกรรมดังกล่าวของคนในองค์กรส่งผลให้เกิดความสามัคคีในสังคม อันจะนำไปสู่การพัฒนาสังคมที่ยั่งยืนต่อไป
References
ปิยะนารถ สิงห์ชู. (2555). แนวทางการรับผิดชอบต่อสังคม. สืบค้น 12 มีนาคม 2563, จาก https://www.gotoknow.org/posts/495994.
พระมหานภดล ปุญฺญสุวฑฺฒโก. (2554). สังคหวัตถุ 4 และแนวทางการปฏิบัติในการทำงาน. สืบค้น 12 มีนาคม 2563, จาก https://www.castool.com/2016/12/02.
พิสิทธิ์ อรัญมาตย์. (2559). ความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัท ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน) ตามหลักพุทธสันติวิธี. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 4 (ฉบับพิเศษ), 243-265.
ไพบูลย์วัฒนศิริธรรม. (2550). แผนที่ความดี. กรุงเทพฯ: มติชน.
วิทยา ชีวรุโณทัย. (2553). พลัง CSR สู่องค์กรเป็นเลิศ ฉบับ ADVANCED. กรุงเทพฯ: ฐานบุ๊คส์.
สถาบันไทยพัฒน์. (2551). ระดับชั้นของ CSR. สืบค้น 12 มีนาคม 2563, จาก www.thaicsr.com/2008/01.
สถาบันธุรกิจเพื่อสังคม. (2552). เข็มทิศธุรกิจเพื่อสังคม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ไอคอนพรินติ้ง.
สุนิตย์ เชรษฐา. (2553). ก้าวแรกสู่ CSR การสร้างความแตกต่างที่ยั่งยืน. กรุงเทพฯ: สถาบันกองทุนเพื่อพัฒนาตลาดทุนตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.
อนันตชัย ยูรประถม. (2552). ตนแนวคิด และทฤษฎีของ CSR. สืบค้น 12 มีนาคม 2563, จาก http://www.edfthai.org/csr/detail.asp?sid=2.
Crane & Desmond. (2002). Societal marketing and morality. European Journal of Marketing, 36(5/6), 548-569.
Samuel, C. C. (2003). Modern management [electronic resource]. Upper Saddle River, N.J.: Prentice Hall.
World Business Council for Sustainable Development. (1999). Corporate Social Responsibility: Meeting Changing Expectations. World Business Council for Sustainable Development: Geneva.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น