การประยุกต์ใช้หลักการกุญแจเก้าดอกของสถาบันพลังจิต ธรรมะ จักรวาล เพื่อเสริมสร้างทักษะภาวะผู้นำในศตวรรษที่ 21 ให้มีความสามารถเหนือปัญญาประดิษฐ์

ผู้แต่ง

  • ชุณภา ปุญณนันท์ สถาบันพลังจิต ธรรมะ จักรวาล

คำสำคัญ:

หลักการกุญแจเก้าดอก, ปัญญาประดิษฐ์, ทักษะภาวะผู้นำในศตวรรษที่ 21, สถาบันพลังจิต ธรรมะ จักรวาล

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอการประยุกต์ใช้หลักการกุญแจเก้าดอกของสถาบันพลังจิต ธรรมะ จักรวาล เพื่อเสริมสร้างทักษะภาวะผู้นำในศตวรรษที่ 21 ให้มีความสามารถเหนือปัญญาประดิษฐ์ซึ่งประกอบไปด้วย 1) ความอดทน 2) ปัญญา
3) การสำรวจตน 4) ทักษะการสื่อสารและทักษะทางปัญญา 5) การแก้ไขปัญหา 6) การคิดบวกและการให้อภัย 7) ภาวะผู้นำ 8) การยอมรับความแตกต่างหลากหลาย 9) การเป็นผู้ให้ ซึ่งสามารถเสริมสร้างทักษะภาวะผู้นำในศตวรรษที่ 21 ให้มีความสามารถเหนือปัญญาประดิษฐ์ในด้านของ 1) ความตระหนักรู้ในข้อมูลขององค์กรก่อนที่จะนำปัญญาประดิษฐ์มาใช้งาน 2) การสร้างงานและทักษะของทีมงาน 3) จิตสำนึกของผู้นำ
4) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ 5) ความฉลาดทางสังคม 6) ความคิดเชิงประยุกต์
7) ความฉลาดทางอารมณ์ 8) ทักษะในด้านการคิดวิเคราะห์ และการแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อน 9) การตัดสินใจ เพราะองค์ประกอบที่กล่าวไปเบื้องต้น จำเป็นต้องใช้ผู้นำที่มีความคิดเชิงวิเคราะห์ ที่จะสามารถตั้งสมมติฐาน การหาสาเหตุที่แท้จริง การเชื่อมโยงทางด้านปัจจัยต่างๆ อันเป็นเหมือนกับการวิเคราะห์หาอัลกอริทึ่มเพื่อนำไปใช้ในการประมวลผล หรือสร้างสรรค์เทคโนโลยีควบคู่กับความคิดสร้างสรรค์เชิงนวัตกรรม ที่จะสามารถนำเอาข้อมูลที่ได้ไปใช้ให้เกิดประสิทธิผลสูงสุดขององค์กร

References

ชูพันธุ์ รัตนโภคา. (2559). เอกสารคำสอน วิชา ความรู้เบื้องต้นทางปัญญาประดิษฐ์ (Introduction to Artificial Intelligence). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

ธัญญลักษณ์ รุ้งแสงจันทร์. (2561). การรับมือกับการเปลี่ยนแปลงในยุค 4.0 ของแรงงานไทย. วารสารสังคมสงเคราะห์ศาสตร์, 26(2), 172-204.

ปัญจนาฏ วรวัฒนชัย. (2559). กลไกสมองสองซีกกับความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์. วารสารสารสนเทศ, 15(2), 1-12.

Azmy, N. (2012). The Role of Team Effectiveness in Construction Project Teams and Project Performance. (Dissertation Ph.D. Thesis in Philosophy). Lowa State University: USA.

Brynjolfsson, E. & McAfee, A. (2017). What’s Driving the Machine Learning Explosion. Retrieved August 20, 2022, from https://hbr.org/2017/07/the-business-of-artificial-Intelligence

Backsanskij, O.E., & Dergacheva, E.A. (2013). Cognitive Processes of the Brain and Learning Theory. Advances in Economics, Business and Management Research, 128: 66-70.

Bruner, J. S., et al. (1956). A study of thinking. New York: John Wiley and Sons.

Chonnapha, P. (2020). The Process of Seeking Nine-Keys Philosophy of Palangjit Dhamma Jakrawan Institute and Utilization for Human Development. Retrieved August 20, 2022, from http://solidstatetechnology.us

Daugherty, P. R., & Wilson, H. J. (2018). Human + Machine: Reimagining Work in the Age of AI. USA: Harvard Business Review Press.

Dhanrajani, S. (2019). AI For CXOs -- Redefining the Future of Leadership in The AI Era. Retrieved August 20, 2022, from https://www.forbes.com/sites/cognitiveworld/2019/07/30/ai-for-cxos-redefining-the-future-of-leadership-in-the-ai-era/?sh=6d8fe7242b46 the-future-of-leadership-in-the-ai-era

Fleming, M. (2020). AI Is Changing Work and Leaders Need to Adapt. Harvard Business Review. Retrieved August 20, 2022, from https://hbr.org/2020/03/ai-is-changing-work-and-leaders-need-to-adapt

Harms, P. D., & Han, G. (2019). Algorithmic leadership: The future is now. Journal of Leadership Studies, 12(4), 74-75.

Hunt, S. T. (2020). 2 Ways Artificial Intelligence Is Redefining Leadership. SAP HR Insights. Retrieved August 20, 2022, from https://www.sap.com/insights/hr/2ways-artificial-intelligence-is

Kruse, K. (2013). What Is Leadership. Retrieved September 15, 2022, from https://www.forbes.com/sites/kevinkruse/2013/04/09/what-is-leader

Maslow, A. (1970). Human needs theory: Maslow’s hierarchy of human needs. In R.F. Craven & C. J. Hirnle (Eds.), Fundamental of Nursing: Human Health and Function (3rd ed.) Philadelphia: Lippincott.

Russell, & Norvig, S. (2010). Artificial Intelligence: A Modern Approach. Prentice Hall, NJ: Englewood Cliffs.

Royce, Gu. (2022). Artificial Intelligence and Big Data Analysis in 2022. International Journal of Science and Research (IJSR), 45, 1617-1622.

Vaidya, S., Ambad, P., and Bhosle, S. (2018). Industry 4.0- A glimpse, Procedia Manufacturing, 20, 233-238.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-10-06

How to Cite