พระสงฆ์กับการพัฒนาชุมชนตามหลักพุทธศาสนา

ผู้แต่ง

  • พระสมุห์วีระ สุนฺทโร วัดมาบไพร

คำสำคัญ:

พระสงฆ์, การพัฒนาชุมชน, พุทธศาสนา

บทคัดย่อ

การพัฒนาชุมชน เป็นการรวมกำลังดำเนินการปรับปรุงสภาพความเป็นอยู่ของชุมชนให้มีความเป็นปึกแผ่นและดำเนินการในแนวทางที่ต้องการ โดยอาศัยความร่วมกำลังของประชาชนในชุมชนนั้นในการช่วยเหลือตัวเองและร่วมมือกันดำเนินงาน

          การพัฒนาชุมชนเป็นเรื่องที่พระสงฆ์ไทยได้ทำมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เพราะพระสงฆ์ไทยกับประชาชนมีความเกี่ยวเนื่องกันในหลายมิติได้ปฏิบัติและนำประชาชนพัฒนาชุมชนมาโดยตลอด ถึงแม้สถานการณ์ในปัจจุบันจะเกิดวิกฤตการณ์ศรัทธาก็ตาม การนำหลักธรรมทางพุทธศาสนา คือ ความสันโดษ และการสร้างสัมมาชีพเป็นการรักษาศีล 5 ไม่ทำตนให้เดือดร้อนแก่ตนเองและผู้อื่น สามารถเลี้ยงชีวิตได้พึ่งตนเองได้เป็นศีล 5 (ไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ประพฤติผิดในกาม ไม่พูดเท็จ  ไม่ดื่มสุราของมึนเมา) ที่เริ่มจากตัวบุคคลมีความซื่อสัตย์สุจริต มีอาชีพที่ไม่ผิดกฎหมาย ไม่ผิดศีลธรรม และสามารถสร้างอาชีพที่ดี เกิดความมั่นคง มั่งคั่ง เกิดความปลอดภัยให้สังคมได้ทำให้ประเทศชาติมีความมั่นคงทางด้านเศรษฐกิจ โดยมีฐานของหลักภาวนา 4 มี การพัฒนากาย (พัฒนาศีล พัฒนาจิต พัฒนาปัญญา) ทำให้เกิดการพัฒนาชุมชนที่ยั่งยืน 6 ด้านประกอบด้วย1.เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น2.พัฒนาบุคลากรในชุมชน3.มีความคิดริเริ่ม4.พัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 5.ตอบสนองความจำเป็นเบื้องต้น6.บรรเทาและขจัดปัญหาในชุมชน

References

กรมการปกครอง. (2564). ประชาชนที่นับถือศาสนาพุทธ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564. สืบค้น 19 กุมภาพันธ์ 2566, จาก https://e-service.dra.go.th/religion/buddhism?type=10

กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย. (2547) . คู่มือการบริหารกองทุนหมู่บ้าน. กรุงเทพฯ: ธันวาธุรกิจ.

ไทยโพสต์. (2565). บ้านพุน้ำร้อน ต้นแบบพัฒนาคน สร้างชุมชนยั่งยืน. สืบค้น วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2566, จาก https://www.thaipost.net/hi-light/187247/

พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาสภิกขุ). (2521). รากฐานที่มั่นคงแห่งความเป็นมนุษย์. กรุงเทพฯ: ธรรมสภา.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2537). ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะศาสนาประจำชาติ. กรุงเทพฯ: บริษัท สหธรรม จำกัด.

ไพฑูรย์ เครือแก้ว. (2538). ลักษณะสังคมไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์พิธการพิมพ์.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2542). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.

วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. (2532). การพัฒนาชุมชนประยุกต์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.

สัญญา สัญญาวิวัฒน์. (2535). การพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ไทยวัฒนพานิช.

สัมพันธ์ เตชะอธิก และคณะ. (2537). ศักยภาพและเครือข่ายผู้นำท้องถิ่น (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: เจริญวิทย์การพิมพ์.

อภิชัย พันธเสน. (2539). พัฒนาชนบทไทย : สมุทัยและมรรค ตอนที่ 3 ความหวัง ทางออกและทางเลือกใหม่. กรุงเทพฯ: มูลนิธิภูมิปัญญา.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-07-31

How to Cite