แนวทางการบริหารธุรกิจร้านอาหารที่มีประสิทธิภาพในเขตกรุงเทพมหานคร
คำสำคัญ:
การบริหาร, ร้านอาหาร, ประสิทธิภาพบทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของนโยบายภาครัฐ การจัดการร้านอาหาร พฤติกรรมการบริโภค และกลยุทธ์ทางการตลาด ที่มีอิทธิพลต่อการบริหารธุรกิจร้านอาหารที่มีประสิทธิภาพ จากการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรเป็นผู้ประกอบการร้านอาหารในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยแบ่งตามชั้นภูมิ ในสัดส่วนที่เท่ากัน จำนวน 320 ราย เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม โดยมีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.947 วิเคราะห์ข้อมูลจากด้วยสถิติพรรณนา และการวิเคราะห์แบบจำลองสมการโครงสร้าง
ผลการวิจัยพบว่ากลยุทธ์ทางการตลาดมีอิทธิพลโดยรวมต่อการบริหารธุรกิจร้านอาหารที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ การจัดการร้านอาหาร นโยบายภาครัฐ และพฤติกรรมการบริโภค ตามลำดับ
References
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2565). สถิติการจดทะเบียนนิติบุคคลในประเทศไทย. สืบค้น 19 มีนาคม 2565, จาก http://datawarehouse.dbd.go.th/bdw/menu/est/1
กฤษฎา กานต์ดา และคณะ. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้บริการ. วารสารการประชุมวิชาการทางบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ระดับชาติ. (ครั้งที่ 2). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา.
เกรียงกมล ภัทรพรไพศาล. (2560). พฤติกรรมและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเอกชน และมหาวิทยาลัยรัฐบาล (วิทยานิพนธ์เศษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศษฐศาสตร์). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
ศรีปริญญา ธูปกระจ่าง. (2563). การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ. กรุงเทพฯ: เปเปอร์เน็ต.
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2565). สภาพแวดล้อมของธุรกิจร้านอาหาร. สืบค้น 15 มีนาคม 2565, จาก https://kasikornresearch.com/th/analysis/k-econ/business/Pages/z3175-restuarant-2021.aspx
ณัฏฐ์นรี กันท้วม และคณะ. (2562). ส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการซื้อสินค้าออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตอำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี. วารสารวิชาการสังคมศาสตร์เครือข่ายวิจัยประชาชื่น, 1(2), 1-12.
ชญานิน ขนอม. (2563). ส่วนผสมทางการตลาด (7Ps) สำหรับธุรกิจบริการที่มีผลต่อความพึงพอใจในการใช้บริการ ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) สาขา เขาปีบ จังหวัดชุมพร (การค้นคว้าอิสระ หลักสูตรทวิปริญญาโททางรัฐประศาสนศาสตร์และบริหารธุรกิจ). กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
สุนทร ผจญ และคณะ. (2562). ประสิทธิภาพการบริหารการรับส่งตู้คอนเทนเนอร์เปล่า ณ ลานตู้คอนเทนเนอร์. วารสารสมาคมนักวิจัย, 24(2), 123-134.
อดุลย์ กองสัมฤทธิ์. (2557). การบริหารจัดการที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน : กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี (การศึกษาอิสระหลักสูตรปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต วิชาเอกการจัดการทั่วไป). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
อุมากร จีรชัยมงคล. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการร้านอาหารริมน้ำของผู้บริโภคในจังหวัดฉะเชิงเทรา. วารสารบัณฑิตศึกษา สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ, 2(1), 239-259.
Amofah, O., Gyamfi, I. & Tutu, C. O. (2016). The Influence of Service Marketing Mix. Customer Choice of Repeat Purchase of Restaurant in Kumasi, Ghana. New York: Irwin McGraw-Hill.
Annie, G. B. (2017). Operational Efficiency and Customer Satisfaction of Restaurants: Basis for Business Operation Enhancement. Asia Pacific Journal of Multidisciplinary Research, 5(1), 122-132.
Ashley, C. (2018). Doing the right thing approximately not the wrong thing precisely. Challenges of monitoring impacts of pro-poor interventions in tourism value chains. London: ODI.
Gauba, O. P. (2016). An Introduction to Political Theory. Fourth Edition. New Delhi: Macmillan.
Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E., (2010). Multivariate Data Analysis: A global perspectives. Upper Saddle River, NJ: Pearson Education, International.
Johan b., Justin C. & Kathleen K. (2019). Wine involvement interaction with dining group dynamics, group composition and consumption behavioral aspects in USA restaurants. International Journal of Restaurants Business, 31(4), 493-508.
Umeze, G. E. & Ohen, S. B. (2017). Marketing Mix Strategies and Entrepreneurial Competence: Evidence from Micro Restaurants in Calabar Metropolis. Nigeria: Cross River State.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น