ประสิทธิผลการบริหารจัดการโครงการบ้านเอื้ออาทร
คำสำคัญ:
ประสิทธิผล, โครงการบ้านเอื้ออาทร, การจัดการ, สังคหวัตถุ 4, POSDCoRBบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1.เพื่อศึกษาสภาพของประสิทธิผลการบริหารจัดการโครงการบ้านเอื้ออาทร 2. เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของการบริหารจัดการโครงการบ้านเอื้ออาทร 3. เพื่อเสนอแนวทางเพิ่มประสิทธิผลของการบริหารจัดการโครงการบ้านเออาทร ดำเนินการวิจัยโดยผสานวิธีใ การวิจัยเชิงปริมาณเก็บข้อมูลจาก 375 ตัวอย่าง คือผู้อยู่อาศัยในบ้านเอื้ออาทรอำเภอหัวหินและปรานบุรี จังหวัดประจวบคิริขันธ์ด้วยแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาและสถิติอ้างอิง การวิจัยเชิงคุณภาพเก็ยข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 20 คน เลือกแบบเจาะจงจากผู้เชี่ยวชาญและนักวิชาการที่เกี่ยวข้องกับโครงการบ้านเอื้ออาทรโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกแบบต่อตัวด้วยแบบสัมภาษณ์เชิงลึกที่มีโครงสร้าง และเก็บข้อมูลจากผู้มีส่วนร่วมในการสนทนากลุ่มเฉพาะจำนวน 10 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการพรรณนาความ
ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพของการบริหารจัดการโครงการบ้านเอื้ออาทรโดยรวมอยู่ในระดับมาก ( = 3.15) 2. ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของการบริหารโครงการบ้านเอื้ออาทร โดยรวมอยู่ในระดีบมาก ( = 3.32) 3. แนวทางที่เหมาะสมสำหรับประสิทธิผลการบริหารจัดการโครงการบ้านเอื้ออาทรได้แก่ การบริหารจัดการตามหลัก POSDCoRB บูรณาการเข้ากับพุทธธรรมคือสังคหวัตถุธรรม 4 ประการ เป็นวิธีการบริหารจัดการที่เหมาะสมและยั่งยืน ทั้งนี้ยืนยันจากผลการวิจัยเชิงคุณภาพซึ่งพบว่า รูปแบบการบริหารตามแนวของ POSDCoRB โดยรวมอยู่ในระดับมากมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.45 ผลจากการวิจัยเชิงคุณภาพมีผลสอดคล้องกันและยังพบข้อเสนอว่า การบริหารโครงการบ้านเอื้ออาทรตามแนว POSDCoRB บูรณาการเข้ากับหลักสังคหวัตถุ 4 จะทำให้การบริหารจัดการโครงการบ้านเอื้ออาทรมีประสิทธิสูงและยั่งยืน
References
Bhikkhu Bodhi. (1995). Nourishing The Roots Essays on Buddhist Ethics. Retrieved May 1, 2022, from http://www.accesstoinsight.org/lib/authors/bodhi/wheel259.html
Chalermphon Viran and friends. (2011). Using the POSDCoRB Model as an administrative tool for the local government in Mae Taeng District Chiang Mai Province. the 12th graduate research conference, Khon Kaen: Khon Kaen University.
John, W.C. (2014). Research Design: Qualitative, Quantitative and Mixed Methods Approaches (4th ed.). Thousand Oaks, CA: Sage.
Ding C. & Lightenberg, E. (2011). Land and Urban Economics Growth in China. Journal of Regional Science, 51(2), 299-317.
Doling, J. & Ronald R. (2014). Housing East Asia: Socioeconomics and Demographic Challenges. Hampshire: Palgrave Macmillan.
Fry B.R., Raadschelders, C.N. (2014). Mastering Public Administration: From Max Weber to Dwight Waldo. United States: SAGE Publications.
Goodnow, F. (2003). Politics and Administrations. New York: Routledge.
Gulick, L. H. (1936). Notes on the Theory of Organization. Papers on the Hampshire: Palgrave Macmillan.
Krisda Plangsiri and Others. (2020). Antecedents affecting the quality of life of residents in Baan Eua Arthorn Hpusing Project in Bangkok Metropolitant Area. Journal of the Association of Researchers, 16(3), 141-151.
Kunnadda Saisorn, (2018). Management Process Influencing Organization Effectiveness for Residential Building Business in Bangkok. Siam Academic Journal, 19(2), 79-95.
Paul P. Van Riper. (1998). Luther gulick, public administration and classical management. International Journal of Public Administration, 21(2), 187-233.
Premchai Sarobon. (2007). Administrative factors influencing the educational quality of Chulachomklao Royal Military Academy (Doctor of Philosophy Department of Educational Administration). Bangkok: Silpakorn University.
Sekmon Sammapetch. (2014). Administrative resources and operational effectiveness of the special correctional therapy center staff. Bangkok (Doctor of Public Administration Thesis). Bangkok: Krirk University.
Stone, M. (1993). Shelter Poverty: New Ideas on Housing Affordability. Philadelphia: Temple University Press.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น