การตลาด 5.0 กับธุรกิจเครื่องสำอางเพื่อการส่งออก
คำสำคัญ:
การตลาด 5.0, ธุรกิจเครื่องสำอาง, การส่งออกบทคัดย่อ
บทความนี้เน้นการนำเสนอเกี่ยวกับการตลาด 5.0 กับธุรกิจเครื่องสำอางเพื่อการส่งออก ประเภทธุรกิจเครื่องสำอางที่ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการทำการตลาด เพื่อสร้างความแตกต่างและดึงดูดความสนใจให้กับผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางของธุรกิจ รวมถึงขั้นตอนการส่งออกผลิตภัณฑ์ที่ถูกต้อง องค์ประกอบทางการตลาดที่สำคัญ เพื่อให้ผู้ประกอบการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง เพื่อสร้างมูลค่าการส่งออกในธุรกิจเครื่องสำอางได้อย่างมีประสิทธิภาพเช่นเดียวกับประเทศอื่น ๆ
References
กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์. (2566) ขั้นตอนการส่งออกสินค้า ประเภทเครื่องสำอาง. สืบค้น 12 กรกฎาคม 2566, จาก https://www.dft.go.th/th-th/index
ฐานเศรษฐกิจ. (2566). ตลาดสินค้าความงามฯในปท.ปี 66 คาดโต10.4%. สืบค้น 12 กรกฎาคม 2566, จาก https://www.thansettakij.com/business/economy/555138.
สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.). (2559). ยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมกลุ่มอุตสาหกรรมฐานชีวภาพ (Bio-Based Industry) : อุตสาหกรรมเครื่องสำอาง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ ปัณณธร มีเดีย.
Positioning. (2566). จับ 5 เทรนด์สำคัญวงการ “บิวตี้-เครื่องสำอาง” 2566 จากพลัง “ดาต้า” ของร้าน “วัตสัน”. สืบค้น 12 กรกฎาคม 2566, จาก https://positioningmag.com/1423484
Philip, K. (2012). Marketing Management (14th). England: Pearson.
______. (2015). Marketing Management (Pearson Education). New Jersey: Prentice Hall.
Philip, K & Armstrong, G. (2018). Principles of Marketing (17th). England: Pearson.
Philip, K. et al., (2021). Marketing 5.0: technology for humanity. Hoboken, New Jersey: Wiley.
Marketeer. (2023). ส่องตลาดเครื่องสำอาง ทิศทางสดใส กลุ่ม Clean Beauty มาแรง. สืบค้น 12 กรกฎาคม 2566, จาก https://marketeeronline.co/archives/306152.
Joshi, R.M. (2005). International Marketing. New Delhi and New York: Oxford University Press.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น