เยาวชนกับการพัฒนาแนวคิดทางการเมือง
คำสำคัญ:
เยาวชน, การพัฒนา, แนวคิดทางการเมืองบทคัดย่อ
แนวคิดการพัฒนาการเมืองนั้นเป็นวิธีการศึกษาการเมืองที่เกิดขึ้นร่วมสมัยกับการศึกษารัฐศาสตร์ในแนวพฤติกรรมศาสตร์ ซึ่งในช่วงเวลาดังกล่าวเป็นช่วงเวลาที่วิชารัฐศาสตร์พยายามสร้างงานวิจัยที่เกี่ยวกับประเด็นปัญหาในสังคมที่สามารถนำไปแก้ปัญหาได้จริง และทำให้รัฐศาสตร์กลายเป็นศาสตร์บริสุทธิ์ (Pure Science) มากกว่าที่เป็นอยู่ ในอีกภาษาหนึ่งก็คือเวลาดังกล่าวเป็นช่วงเวลาที่นักรัฐศาสตร์พยายามสร้างแนวทางในการศึกษาการเมืองที่ไม่ต้องหยิบยืมวิธีวิทยาแบบวิทยาศาสตร์
References
ลิขิต ธีเวคิน. (2527). ทฤษฎีพัฒนาการเมือง. กรุงเทพฯ: ศูนย์วิจัยคณะรัฐศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สมบัติ ธำรงค์ธัญวงศ์. (2539). ทัศนคติทางการเมืองของเด็กและเยาวชนในกรุงเทพมหานคร (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โครงการเอกสารและตำรา คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
Easton, D. (1971). The Political System: An Inquiry into the State of Political Science (2nd ed.). New York: Alfred A. Knopf.
Gabriel, A. (1978). Almond and G. Bingham Powell, Jr. Comparative Politics: System, Process and Policy (2nd ed.). Boston: Little, Brown and Company.
Huntington, S. (1969). Political Order in Changing Societies (2nd ed.). Connecticut: Yale University Press.
James, A.B. & Robert, L.H. (1973). Comparative Politics: The Quest for Theory. Columbus. Ohio: Charles E. Merrill Publishing Company.
Pye, L.W. (1966). Aspects of Political Development: An Analytic Study. Boston: Little Brown and Company.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น