การบูรณาการการเรียนรู้ตามหลักไตรสิกขา

ผู้แต่ง

  • วรินทร จินดาวงศ์ นักวิชาการอิสระ

คำสำคัญ:

การบูรณาการ, การเรียนรู้, ไตรสิกขา

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู้ แนวคิดจิตตปัญญาศึกษา และการบูรณาการเรียนรู้ตามหลักไตรสิกขา ผ่านการสังเคราะห์เอกสาร ตำรา งานวิจัย ผลการศึกษาพบว่า กิจกรรมการเรียนรู้ ฝึกฝน บ่มเพาะปัญญาภายในของนักเรียนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันตามหลักไตรสิกขา 3 ด้าน ประกอบด้วย 1. เรียนรู้เรื่องศีล
2.เรียนรู้เรื่องสมาธิ และ 3. เรียนรู้เรื่องปัญญา และศาสตร์ที่เกี่ยวข้องของจิตศึกษาสู่การประพฤติปฏิบัติตนในการเรียนรู้ทั้ง 3 ด้าน ประกอบด้วย 1. ด้านจิตพิสัย 2. ด้านพุทธิพิสัย และ 3. ด้านทักษะพิสัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพมนุษย์ให้เป็นมนุษย์ที่ดำรงชีวิตอยู่ได้ด้วยสุจริต เป็นคนดีและมีความสุข

References

จิรัฐกาล พงศ์ภคเธียร. (2553). จิตตปัญญาศึกษา: การเรียนรู้สู่จิตสำ นึกใหม่. กรุงเทพฯ: สวนเงินมีมา.

ประเวศ วะสี. (2551). หนังสือรวบรวมบทความการประชุมวิชาการประจำ ปี 2551 เรื่องจิตตปัญญาศึกษา การศึกษาเพื่อพัฒนาความเป็นมนุษย์. กรุงเทพฯ: โครงการศูนย์จิตตปัญญาศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล.

พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช). (2548). ราชบัณฑิต พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด. กรุงเทพฯ: วัดราชโอรสาราม.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2548). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม (พิมพ์ครั้งที่ 14). กรุงเทพฯ : สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สำนักงานคระกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

วรินทร จินดาวงศ์. การส่งเสริมความประพฤตินักเรียนและนักศึกษาตามแนวหลักศีล 5. วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์, 6(5), 187 – 198.

วิจักขณ์ พานิช. (2551). เรียนรู้ด้วยใจอย่างใคร่ครวญ: การศึกษาดังเส้นทางแสวงหาจิตวิญญาณ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สวนเงินมีมา.

สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติร่วมกับ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2561). แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพิ่มเติม การป้องกันการทุจริต” ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. นนทบุรี: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด สาขา 4.

สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (2566). นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567. กรุงเทพฯ: สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์.

สำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ 2561 – 2580. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ.

สำนักนายกรัฐมนตรี. (2565). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสาม พ.ศ. 2566 – 2570. กรุงเทพฯ: สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

สุมน อมรวิวัฒน์. (2551). ชุดโครงการเพิ่มขีดความสามารถของคณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์สู่การเป็นสถาบันพัฒนาบุคลาการทางการศึกษาที่มีความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์. สสส. (อัดสำเนา).

สุรางค์ โค้วตระกูล. (2548). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Anderson, L. W., & Krathwohl, D. R. (2001). A taxonomy for learning, teaching, and assessing: A revision of Bloom’s taxonomy of educational objectives. New York: Addison Wesley Longman.

Bloom, B.S. (1956). Taxonomy of Educational Objectives, Handbook I: The Cognitive Domain. New York: Davic McKey Co Inc.

Kabat, Z, J. (1994). The catalyzing movement towards a more contemplative/ sacredappreciating/non-dualistic society. The meditative mind in the society meeting group.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-09-18 — Updated on 2024-09-18

Versions

How to Cite