การสะท้อนมุมมองเทคโนโลยีกับการเผยแผ่พุทธศาสนา

ผู้แต่ง

  • พระมหาทองเก็บ ญาณพโล วัดปากน้ำภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร
  • พระคณิน โสภณจิตฺโต วัดปากน้ำภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร
  • พระศักดิ์สยาม โชติปาโล วัดปากน้ำภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร
  • พระมหาอภิวัฒน์ ภูริวฑฺฒโน วัดปากน้ำภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร
  • พระคเณศร์ สุเมโธ วัดปากน้ำภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร
  • พระครูปรีชากิจจาทร ปญฺญาธโร วัดปากน้ำภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร
  • พระมหาสวัสดิ์ สุรินฺทชโย วัดปากน้ำภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร
  • พระมหาชุติชัย วุทฺธิชโย วัดปากน้ำภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร
  • พระอุดมศักดิ์ จิณฺณธมฺโม วัดปากน้ำภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร
  • ศรัณภัสร์ วรกัมพลรัตน์ วัดปากน้ำภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร

คำสำคัญ:

มุมมอง, เทคโนโลยี, การเผยแผ่

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการสะท้อนมุมมองเทคโนโลยีกับการเผยแผ่พุทธศาสนา ใช้การศึกษาจากเอกสารงานวิจัย การสังเกต แบบมีส่วนร่วมต่อปรากฏการณ์ทางการใช้เทคโนโลยีในปัจจุบัน ผลการศึกษาพบว่า การเผยแผ่พุทธศาสนามีหลากหลายวิธี มีทั้งใช้วิธีการพูด การยกตัวอย่าง วิธีการเขียน ในปัจจุบันมีวัดและคณะสงฆ์ใช้นเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ สื่อออนไลน์บนโลกอินเทอร์เน็ตนานาชนิดในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา เพียงแต่ยังมีข้อจำกัดอยู่เพียงเฉพาะพระภิกษุที่มีหน้าที่ในการเผยแผ่เท่านั้น ในอนาคตหากมีการใช้เทคโนโลยีในการผลิต สร้างองค์ความรู้ เผยแผ่พระพุทธศาสนา ทั้งใน Facebook, Youtube Line Chat และช่องทางอื่น ๆ ในแบบออนไลน์ทั้งหมดก็จะเป็นประโยชน์ต่อการสื่อสารและเผยแผ่พระพุทธศาสนาในองค์รวมได้

References

เขมณัฏฐ์ มิ่งศิริธรรม. (2556). Social media สื่อสร้างสรรค์เพื่อการศึกษา. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, Silpakorn University สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์และศิลปะ, 6(1), 72-81.

คณาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. (2550). เอกสารประกอบการสอนมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.

บุญค้ำ ดีสุขสาม และดวงกมล โพธิ์นาค. (2557). แนวคิดการใช้สื่อสังคมออนไลน์เป็นช่องทางการเผยแพร่พระพุทธศาสนา. วารสารวิชาการครุศาสตร์อุตสาหกรรมพระจอมเก้าพระนครเหนือ, 5(1), 161-167.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุคพับลิคเคชั่น.

พิเชฐ ทั่งโต. 2563. เทคโนโลยีสารสนเทศกับยุทธศาสตร์เพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในยุคออนไลน์. วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์, 3(1), 62-75.

พินิจ ลาภธนานนท์ และแทนพันธุ์ เสนะพันธุ์ บัวใหม่. (2557). พฤติกรรมการใช้อินเตอร์เน็ตที่เหมาะสมของพระสงฆ์. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พยุงศักดิ์ วิริยะบัณฑิตกุล. (2554). ว. วชิรเมธี ในมิติธรรมะ SWOT โลก. สืบค้น 6 กุมภาพันธ์ 2567, จาก www.brandage.com/Modules/destopmodules/

พระไพศาล วิสาโล. (2546). พุทธศาสนาไทยในอนาคต แนวโน้มและทางออกจากวิกฤต (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.

พระราชเมธี (วรวิทย์ คงฺคปญฺโญ). (2525). การพัฒนาพระสังฆาธิการ. กรุงเทพฯ: ดำรงการพิมพ์.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิิฎก (ภาษาไทย) ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

วรรณธัช ประเสริฐ. (2560). การสื่อสารพุทธศาสนาจากมูลนิธิทางศาสนาสู่พุทธศาสนิกชนเจเนอเรชั่นวาย (ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขานิเทศศาสตร์และนวัตกรรม). กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

สานิตย์ กายาผาด และคณะ. (2542). เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต. กรุงเทพฯ: เธิร์ดเวฟ เอ็ดดูเคชั่น

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-03-01

How to Cite