จริยธรรมเชิงคุณธรรมทางการเมืองตามทัศนะของอริสโตเติล
คำสำคัญ:
จริยธรรม, คุณธรรม, การเมือง, อริสโตเติลบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์จริยธรรมเชิงคุณธรรมทางการเมืองตามทัศนะของอริสโตเติล พบว่า หลักจตุรธรรมมัชฌิมวิธี อันหมายถึง วิธีหรือหนทางสายกลางที่ใช้สำหรับประพฤติและจัดการบริหาร 4 ประการ อันประกอบด้วย 1. การรอบรู้หรือรอบคอบ 2. ความกล้าหาญ 3. ความรู้จักประมาณพอเหมาะ และ 4. ความยุติธรรม คุณธรรมเหล่านี้จัดเป็นเครื่องมือสำหรับพลเมืองและระบบการเมืองที่จะนำไปสู่การประพฤติและการบริหารจัดการเพื่อเป้าหมาย คือ ความสุข กล่าวคือ พลเมืองจะต้องปฏิบัติตามกรอบกฎหมายอย่างเท่าเทียมและไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่น มีความพอดีในการพอดีในการดำรงชีวิต ความกล้าหาญเชิงจริยธรรม และเรียนรู้ที่จะดำเนินตามคุณธรรม ในขณะที่ รัฐหรือระบบการเมืองก็ควรชักนำให้พลเมืองมีศีลธรรมและบังคับใช้กฎหมาย ใช้กระบวนการบริหารโดยหลักนิติธรรม แบ่งปันผลประโยชน์ด้วยความเสมอภาค และใช้กระบวนการยุติธรรมด้วยความเท่าเทียมและเสมอภาค
References
กีรติ บุญเจือ. (2551). คู่มือจริยศาสตร์ตามหลักวิชาการสากล. กรุงเทพฯ: เชน ปริ้นติ้ง.
จำเริญรัตน์ เจือจันทร์. (2548). จริยศาสตร์ : ทฤษฎีจริยธรรมสำหรับนักบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
ชัยวัฒน์ อัตพัฒน์. (2540). จริยธรรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ทินพันธุ์ นาคะตะ. (2546). วิถีชีวิตไทย: วัฒนธรรมทางการเมืองของคนรุ่นใหม่. กรุงเทพฯ: หจก. สหายบล๊อกและการพิมพ์.
บุญมี แท่นแก้ว. (2536). ปรัชญาศาสนา. กรุงเทพฯ: ศรีอุทุมพร ณ ศรีลำดวน.
ปกรณ์ สิงห์สุริยา. (2554). จริยธรรมเชิงคุณธรรม. สืบค้น 20 มกราคม 2567, จาก https://shorturl.asia/Q3TGa
ประโยชน์ ส่งกลิ่น. (2563). จริยธรรมในการบริหารรัฐกิจสำหรับศตวรรษที่ 21. มหาสารคาม: โครงการผลิตและเผยแพร่ตำราและผลงานวิชาการวิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
พระปริยัติธาดา. (2558). ความกล้าหาญทางจริยธรรมในพระพุทธศาสนาเถรวาท (วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระราชวรมุนี (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2540). ปรัชญากรีก: บ่อเกิดภูมิปัญญาตะวันตก. กรุงเทพฯ: ศยาม.
ฟื้น ดอกบัว. (2544). ปวงปรัชญากรีก (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ศยาม.
เมธา หริมเทพาธิป. (2565). เอกสารประกอบการสอนรายวิชาปรัชญาและจริยธรรมสมัยใหม่ (PHE 8107). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
วรยุทธ ศรีวรกุล. (2542). มโนทัศน์ของความยุติธรรม. วารสารแสงธรรมปริทัศน์, 23(3), 41-58.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2550). ข้อริเริ่มระดับโลกว่าด้วยการศึกษาต้องมาก่อน. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิก.
โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์. (2562). ปรัชญาทั่วไป. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อเนก นาคเจริญ. (2554). การพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนนักศึกษา กรณีศึกษาโรงเรียนธีรภาดาเทคโนโลยี สังกัดสำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ (ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม.
Aristotle. (1684). Nicomachean Ethics. Book V. Hobbes. Leviathan.
Brett. (2024). Developing Manly Courage. The Art of Manliness. Retrieved May 23, 2024, from https://www.artofmanliness.com/2009/02/08/developing-manly-courage.
Edge, R. S. & Groves, J. R. (1999). Ethics of health care: A guide for clinical practice (2nd ed). New York: Delmon Publishers.
W.T. Stace. (1965). A Critical History of Greek Philosophy. New York: Macmillan.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น