ทางเลือกและความเป็นไปได้ : การพัฒนาคุณภาพชีวิตของหญิงหม้าย ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้
คำสำคัญ:
หญิงหม้าย, การพัฒนาคุณภาพชีวิต, สามจังหวัดชายแดนใต้บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้ มุ่งศึกษาสภาพบริบทหญิงหม้ายในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและความท้าทายที่พบ และวิเคราะห์ทางเลือกและความเป็นไปได้ของพัฒนาคุณภาพชีวิตของหญิงหม้ายกับแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตของสามจังหวัดชายแดนใต้ ตามบริบทความเป็นอยู่ในพื้นที่ของสตรีหม้ายที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อเป็นข้อเสนอแนะเชิงนโยบายที่สนับสนุนให้หญิงหม้ายสามารถปรับตัวและดำเนินชีวิตได้อย่างเป็นปกติ รวมทั้งการส่งเสริมทักษะต่าง ๆ ที่จำเป็นในปัจจุบันเพื่อพัฒนาให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โดยศึกษาข้อมูลจากเอกสารเกี่ยวกับผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่สงบฯ ที่มีต่อหญิงหม้ายหม้าย ประมวลแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการปรับตัวและการพัฒนาชีวิตของหญิงหม้าย รวมทั้งศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของหญิงหญิงหม้าย กอรปกับการวิเคราะห์ปัจจัยและวิพากษ์นโยบายเกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของหญิงหม้ายในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้
References
กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว. (2565). แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาสตรี (พ.ศ. 2566 - 2570). สืบค้น 18 เมษายน 2567, จาก https://www.dwf.go.th//storage/77023/93dc2ab2-5689-4c34-afb5-5becc2422d6c-document-5950.pdf
ซาราห์ บินเย๊าะ. (2564). การศึกษา รูปแบบการปรับตัวเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีความมั่นคงของสตรีหม้ายที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ สืบค้น 12 เมษายน 2567, จาก https://www.msociety.go.th/ewtadmin/ewt/mso_web/download/article/article_20220110154321.
มนวัธน์ พรหมรัตน์ และคณะ. (2558). การเป็น “หญิงหม้าย” กับความรุนแรงเชิงวัฒนธรรมและ โครงสร้างในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ปริทัศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, 3(2), 93 - 119.
สมจิตต์ สุพรรณทัสน์ และนิภา มนุญปิจุ (2525). ประชากรกับคุณภาพชีวิต. สืบค้น 23 กุมภาพันธ์ 2567, จาก https://hdl.handle.net/20.500.14594/57429.
สำนักข่าวพลเมือง. (2564). 17 ปีความรุนแรงชายแดนใต้ของหญิงม่าย เด็กกำพร้า กับโควิดเร่งความรุนแรงในครอบครัว. สืบค้น 21 กุมภาพันธ์ 2567 จาก https://thecitizen.plus/node/50781.
สำนักข่าวอิสรา. (2565). ลงทะเบียนหญิงหม้ายมุสลิมะห์ปัตตานีพุ่งกว่าครึ่งพัน เด็กกำพร้า 3 จังหวัดกว่า 2 หมื่น. สืบค้น 23 กุมภาพันธ์ 2567, จาก https://www.isranews.org/article/south-news/south-slide/108482-singlemomsouth.html
สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2563). รายงานความมั่นคงของมนุษย์ประเทศไทย สืบค้น 26 กุมภาพันธ์ 2567, จาก 5fa3aba42c965.pdf.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2555). โครงการ: สำรวจอนามัยการเจริญพันธุ์ ปี 2552. สืบค้น 2 เมษายน 2567, จาก https://statstd.nso.go.th/definition/projectdetail.aspx?periodId=92&defprodefId=1215
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2563). รายงานการวิเคราะห์สถานการณ์ความยากจนและความเหลื่อมล้ำในประเทศไทย. สืบค้น 26 กุมภาพันธ์ 2567, จาก https://www.nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=11972.
ฮามีดะห์ฮาสัน โต๊ะมะ และคณะ. (2566). บทบาทของสตรีมุสลิมหม้ายในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ในการปรับตัวตามอิสลามวิถี กรณีศึกษา: สตรีมุสลิมหม้ายในอำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา. วารสารอิสลามศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 14(1) : 87-117
Philip, H. C. & Manzoor, A. (1974). Attacking Rural Poverty: How Nonformal Education Can Help. A World Bank Research Publication.
Wichaidit, S. (2018). Self-healing Process and Nurses’ Enhancement Perceived by Thai Buddhist Widows from Unrest Situations, Southernmost Region of Thailand (Thesis Ph.D., Nursing International program) Songkhla: Songkhla University.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น