Acceptance of the COVID-19 Vaccine Among Elderly in Suphanburi District, Suphanburi Province
Main Article Content
Abstract
This descriptive study aimed to investigate the proportion of acceptance of the COVID-19 vaccine among the elderly in Mueang Suphanburi Province and identify the relationship between predisposing, enabling, and reinforcing factors and the acceptance of the COVID-19 vaccine among the elderly. Data were collected between May and August 2022, with questionnaires on a sample of 330 elderly people. The analysis was based on descriptive statistics and binary logistic regressions at a 5% significance level. It was found that 63.9% of elderly people accepted the COVID-19 vaccine. Regarding the relationship between predisposing factors and COVID-19 vaccine acceptance, female elderly showed a higher rate of acceptance than male (AOR = 1.98, 95% CI: 1.10–3.57). The elderly who have never smoked and who used to smoke but had already quit smoking showed a higher rate of vaccine acceptance than those still smoking (AOR = 3.89, 95% CI: 1.379–11.006, AOR = 1.59, 95% CI: 0.586–4.342). The elderly who had a high and moderate level of perception of the severity of COVID-19 disease were more accepting of the vaccine than those with a low perception level (AOR = 4.30, 95% CI: 0.878-21.044, AOR = 1.70, 95% CI: 0.321-9.035). With regard to enabling factors, it was found that the elderly who have a good and moderate level of access to COVID-19 vaccination services are more accepting of the vaccine than those who have a low level (AOR = 6.38, 95% CI: 1.38–29.49, AOR = 2.02, 95% CI: 0.40–10.18, respectively). The findings of the study can help develop guidelines to promote the acceptance of the COVID-19 vaccine and other vaccines during any future pandemic diseases. The results of the study can serve to encourage proactive action by public health authorities in providing information, knowledge, and awareness about the risks and severity of the disease
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
Views and opinions appearing in the Journal it is the responsibility of the author of the article, and does not constitute the view and responsibility of the editorial team.
References
กรดารัตน์ เกื้อทาน, ชนัญชิดา มากสวาสดิ์, ณัฐชา สืบพันธ์, นริศรา เลื่อนแก้ว, พรชิตา คันศร และ สิริทรัพย์ สีหะวงษ์. (2565). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจรับวัคซีนป้องกันโคโรนาไวรัส (COVID-19) ของนักศึกษาชั้นปีที่ 3-4 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. วารสารมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 26(2), 157-168.
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2564). แนวทางการให้วัคซีนโควิด 19 ในสถานการณ์การระบาด ปี 2564 ของประเทศไทย. ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 2. กรมควบคุมโรค.
กัตติยาณี เอกวุธ, สงครามชัยย์ ลีทองดีศกุล และ สุรศักดิ์ เทียบฤทธิ์. (2566). รูปแบบการส่งเสริมการเข้าถึงวัคซีนป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในกลุ่มผู้สูงอายุ ตำบลธงธานี อำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารศูนย์อนามัยที่ 9, 17(3), 1011-1022.
กู้ศักดิ์ บำรุงเสนา. (2565). ปัจจัยทำนายการยอมรับวัคซีน COVID-19 ในบุคลากรทางการแพทย์ของโรงพยาบาลสงขลา. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 15(1), 187-202.
เกศรา โชคนำชัยสิริ และ อัจฉรา โพชะโน. (2566). การประเมินผลระบบบริการฉีดวัคซีนป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019. สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง. วารสารศูนย์อนามัยที่ 9, 17(2), 730-747.
ขนิษฐา ชื่นใจ และ บุฎกา ปัณฑุรอัมพร. (2564). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจฉีดวัคซีนป้องกันโคโรนาไวรัส (COVID-19) ของประชากรในกรุงเทพมหานคร. สืบค้นจาก https://mmm.ru.ac.th/MMM/IS/twin-9/6214154037.pdf
ฉวีวรรณ บุญสุยา. (2544). ประชากรและการเลือกกลุ่มตัวอย่าง. ประมวลสาระชุดวิชาสถิติและระเบียบวิธีวิจัยในงานสาธารณสุข มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ชนิกา เสนางค์นารถ, ปรีย์กมล รัชนกุล และ จีราภรณ์ กรรมบุตร. (2564). ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการรับวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ของบุคลากรทางการแพทย์ จังหวัดปทุมธานี. รามาธิบดีพยาบาลสาร, 28(2), 254-267.
ชิโนรส ลี้สวัสดิ์, เทิดศักดิ์ เดชคง และ จรรยา ธนภควัต. (2565). ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความลังเลใจและความต้องการรับวัคซีนโควิด 19. วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย, 30(2), 161-70.
นภชา สิงห์วีรธรรม, เพ็ญนภา ศรีหริ่ง, อรนุช ทองจันดี, วุฒิกุล ธนากาญจนภักดี, อัจฉรา คำมะทิตย์ และ กิตติพร เนาว์สุวรรณ. (2565). ความเต็มใจยอมรับและความเต็มใจที่จะจ่ายเงินการได้รับการฉีดวัคซีนกระตุ้นซ้ำป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.
นิคม แก้ววันดี. (2558). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือกออกตำบลนครเจดีย์ อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
พัชรีวรรณ บวรวิกัย และ พรพรหม ชมงาม. (2565). ความสัมพันธ์ระหว่างการเลือกรับข่าวสารกับพฤติกรรมการรับวัคซีนป้องกัน COVID-19 ของ Gen Y ในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยาการจัดการวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์, 3(3), 39-52.
เพ็ญศรี ผาสุก. (2563). ความเชื่อด้านสุขภาพและพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ ตำบลหนองแค อำเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ. วารสารวิชาการกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ, 16(1), 44-55.
ยุพเรศ พญาพรหม, หัสญา ตันติพงศ์, พรพรรณ มนสัจจกุล, ศรินญาภรณ์ จันทร์ดีแก้วสกุล และ ทรงยศ คำชัย. (2565). ศึกษาเรื่องการยอมรับวัคซีนโควิด 19 จากมุมมองของประชาชนในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน. พยาบาลสาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 49(2), 41-54.
สุรชัย โชคครรชิตไชย. (2564). วัคซีนโควิด-19 กับแผนการสร้าง"ภูมิคุ้มกันหมู่" ในประเทศไทย (บรรณาธิการ แถลง). วารสารสมาคมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย, 11(1), ง.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2564). คู่มือวัคซีนสู่โควิด ฉบับประชาชน. (พิมพ์ครั้งที่ 2) กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี. (2565). รายงานสถานการณ์บริการฉีดวัคซีนโควิด 19. สืบค้นจาก https://spo.moph.go.th/web/dcdc/category-cal-1/c0191
ไมลา อิสสระสงคราม. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจในการป้องกันโรคโควิด-19 กับการเข้ารับบริการฉีดวัคซีนโควิด 19 ของผู้สูงอายุ. วารสารสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10, 19(2), 56-67.
Health Data Center. (2565). รายงานการสำรวจประชารกลุ่มผู้สูงอายุของจังหวัดสุพรรณบุรี. สืบค้นจาก https://spb.hdc.moph.go.th/hdc/main/index.php
MOPH Immunization Center. (2564). รายงานสถานการณ์ให้บริการฉีดวัคซีนโควิด 19 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี. สืบค้นจาก https://cvp1.moph.go.th/dashboard
Green, L. W., & Kreuter, M. W. (2005). Health program planning: An educational and ecological approach. (4th ed.). New York: McGraw Hill.
Rosenstock, I. M. (2000). Health Belief Model. In A. E. Kazdin (Ed.), Encyclopedia of psychology (vol.4, pp. 78–80). Oxford University Press.
Sabina Govere-Hwenje. Et al. (2020). Willingness to accept COVID‑19 vaccination among people living with HIV in a high HIV prevalence community. BMC Public Health 2022.
Susan M. Sherman. et al. (2021). COVID-19 vaccination intention in the UK: results from the COVID-19 vaccination acceptability study (CoVAccS), A nationally representative cross-sectional survey. Human Vaccines & Immunotherapeutics 2021, 17(6), 1612–1621. https://doi: 10.1080/21645515.2020.1846397