ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูปออร์แกนิก ผ่านเพจเฟซบุ๊กของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

Main Article Content

มติมนต์ ทรงคุณเวช
สุมามาลย์ ปานคำ

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาและตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูปออร์แกนิกผ่านเพจเฟซบุ๊กของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และ 2) ศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูปออร์แกนิกเพจเฟซบุ๊กของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามออนไลน์ กลุ่มตัวอย่าง คือผู้ที่เคยซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูปออร์แกนิกผ่านเพจเฟซบุ๊กและพักอาศัยในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 295 คน สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และโมเดลสมการโครงสร้าง ผลการวิจัยพบว่า โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย 5 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านคุณลักษณะผลิตภัณฑ์ 2) ด้านการตลาดเชิงเนื้อหา 3) ด้านการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง4) ด้านการรับรู้คุณค่า และ 5) ด้านความตั้งใจซื้อ สอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์เป็นอย่างดี โดยพิจารณาจากค่า CMIN/df = 1.79, ค่า GFI = 0.94, ค่า AGFI = 0.91, ค่า SRMR = 0.04, ค่า RMSEA = 0.05 และค่าสัมประสิทธิ์การพยากรณ์ = 0.54 แสดงว่าตัวแปรในโมเดลสามารถอธิบายความแปรปรวนของความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูปออร์แกนิกผ่านเพจเฟซบุ๊กได้ ร้อยละ 54 พบว่า ด้านคุณลักษณะผลิตภัณฑ์ ด้านการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง มีอิทธิพลทางตรงต่อความตั้งใจซื้อตามลำดับในขณะที่ด้านการตลาดเชิงเนื้อหามีอิทธิพลทางอ้อมต่อความตั้งใจซื้อผ่านการรับรู้คุณค่า ซึ่งผู้ประกอบการสามารถนำผลวิจัยครั้งนี้ไปพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปออร์แกนิก และควรให้ความสำคัญ ด้านการรับรู้คุณค่า ด้านการตลาดเชิงเนื้อหา เป็นสำคัญเพื่อให้เกิดความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูปออร์แกนิกผ่านเพจเฟซบุ๊ก

Article Details

How to Cite
ทรงคุณเวช ม., & ปานคำ ส. (2024). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูปออร์แกนิก ผ่านเพจเฟซบุ๊กของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 7(6), 3519–3536. สืบค้น จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jmhs1_s/article/view/271645
บท
บทความวิจัย

References

จิราภา เขมาเบญจพล และ สุทธิลักษณ์ หวังสันติธรรม. (2563). อิทธิพลการเปิดรับความพึงพอใจของผู้บริโภคต่อเนื้อหาการตลาดบนอินสตาแกรมสตอรี่กับความตั้งใจซื้อ. วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 14(1), 67-80. สืบค้นจาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jprad/article/view/247007

ฉัตรชัย อินทสังข์ ศศิฉาย พิมพ์พรรค์ และอภิ คําเพราะ. (2562). การรับรู้คุณภาพการบริการ: ความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์บนการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, 14(48), 1-12. สืบค้นจาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/researchjournal-lru/article/view/155112

เบญญา หวังมหาพร และ ทิพย์รัตน์ เลาหวิเชียร์. (2563). ผลของความไว้วางใจและคุณค่าที่รับรู้ได้ต่อการตั้งใจซื้อสินค้าผ่านทางสังคมออนไลน์เฟซบุ๊กของผู้ใช้ในเขตกรุงเทพมหานคร. BU Academics Review, 19(2), 151-163. สืบค้นจาก https://so01.tci-thaijo.org/index.php/buacademicreview/article/view/240265

นลินี พานสายตา. (2563). ความตั้งใจเชิงพฤติกรรมในการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของนักท่องเที่ยวสูงอายุ: กรณีศึกษานักท่องเที่ยวในชมรมผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 28(1), 168-194. สืบค้นจาก https://ojs.lib.buu.ac.th/index.php/huso2/article/view/7535

เว็บไซต์ Thegivingtown. (2566). ออร์แกนิค คืออะไร. สืบค้นเมื่อ 12 มกราคม 2567, จาก https://www.Thegivingtown.com/th/blog/knowledge/what-is-organic

เว็บไซต์ insightERA. (2023, Feb. 15). สรุปข้อมูลที่ควรรู้ Digital 2023 Thailand จาก We Are Social และ Meltwater. สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2566, จาก https://www.insightera.co.th/digital-2023-thailand/

สุชญา นิลวัฒน์ และ สมชาย เล็กเจริญ. (2566) ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์ของเล่นสัตว์เลี้ยงบนอินสตาแกรมของผู้บริโภคในประเทศไทย. วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 6(4), 1892-1910. สืบค้นจาก https://so04.tci-thaijo.org

/index.php/jmhs1_s/article/view/264858

สุทธิลักษณ์ เมืองนาคิน และ ปณิศา มีจินดา. (2563). ศึกษาทัศนคติที่มีตอสินคาออรแกนิครูปแบบการตัดสินใจซื้อคุณค่าที่รับรู้ที่มีผลต่อแนวโน้มความตั้งใจซื้อสินค้าทารกและเด็กในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 7(2), 1-12. สืบค้นจาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/mmr/article/view/268451

สุพัชรี เกิดสุข, พรรณรัตน์ แสงเพิ่ม และ ทัศนี ประสบกิตติคุณ. (2561). การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงและทัศนคติต่อการให้นมแม่ในที่สาธารณะของมารดาที่มีบุตรอายุ 6-12 เดือน. วารสารสภาการพยาบาล, 33(3), 114-124. สืบค้นจาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TJONC/article/view/127710

สุภัตรา แปงการิยา และ สุมาลี สว่าง. (2561). ปัจจัยการรับรู้คุณค่าที่ลูกค้าได้รับและปัจจัยคุณภาพความสัมพันธ์ที่ส่งผลต่อความภักดีของลูกค้าร้านขายยาในประเทศไทย. วารสารเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจปริทัศน์, 14(1), 14-36. สืบค้นจาก https://www.rsu.ac.th/bae/index.php?/ article/detail/113

สำนักข่าวไทยโพสต์. (2566, 15 มิถุนายน). DIP ดันสินค้าออแกนิค เตรียมปั้นมูลค่าเศรษฐกิจจากเทรนด์รักสุขภาพ. สืบค้นเมื่อ 12 มกราคม 2567, จาก https://www.thaipost.net/public-relations-news/397293/

สำนักงานพัฒนาธุรกรรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2565). รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2565. สืบค้นเมื่อ 12 มกราคม 2567, จาก https://www.etda.or.th/getattachment/78750426-4a58-4c36-85d3-d1c11c3db1f3/IUB-65-Final.pdf.aspx

อรนุช อุปนันท์, สืบชาติ อันทะไชย และ พนา ดุลยพัชร. (2561). อิทธิพลเชิงสาเหตุของส่วนผสมทางการตลาดบริการที่มีต่อการรับรู้คุณค่า ความพึงพอใจและความภักดีของผู้บริโภคของร้านค้าเครื่องประดับอัญมณี. วารสารวิชาการและวิจัยมหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 8(2), 74-86. สืบค้นจาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/neuarj/article/view/201445

อัมพล ชูสนุก, พัชรี ฉันท์ศิริรักษ์, สิริบุปผา อุทารธาดา, จริพันธ์ สกุณา และ เบญจวรรณ ศฤงคาร. (2560). อิทธิพลของคุณภาพการให้บริการต่อคุณค่าที่รับรู้ ความพึงพอใจ และความจงรักภักดีของลูกค้าร้านกะทิครัวไทย. วารสารรังสิตบัณฑิตศึกษาในกลุ่มธุรกิจและสังคมศาสตร์, 3(1-2), 176-188. สืบค้นจาก https://rsujournals.rsu.ac.th/index.php/jdbs/article/view/350

Chaffey, D., & Ellis-Chadwick, F. (2019). Digital marketing: Strategy, implementation and practice. (5th ed.). England: Pearson Education.

Content Marketing Institute. (2017). The content marketing framework, what is content marketing?. Retrieved from https://contentmarketinginstitute.com/wp-content/uploads/2016/10/ CMI_Framework2016-FINAL-REV.pdf

Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate data analysis (7th ed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.

Hair, J. F., Hult, G. T. M., Ringle, C. M., & Sarstedt, M. (2014). A primer on Partial Least Squares Structural Equation Modeling (PLS-SEM), California, CA: SAGE.

Hoelter, J. W. (1983). The effects of role evaluation and commitment on identity salience. Social Psychology Quarterly, 46(2), 140-147. https://doi.org/10.2307/3033850

Hu, L.T., & Bentler, P. M. (1999). Cutoff criteria for fit indexes in covariance structure analysis: Conventional criteria versus new alternatives. Structural Equation Modeling, 6(1), 1-55. https://doi.org/10.1080/10705519909540118

Joreskog, K. G., & Sorbom, D. (1984). Advances in factor analysis and structural equation models, Lanham: Rowman & Littlefield Publishers.

Kapferer, J. N. (2020). The new strategic brand management: Advanced insights and strategic thinking. Kogan Page.

Kline, R. B. (2011). Principles and practices of structural equation modeling (3rd ed.). New York: The Guilford Press.

Samarkjarn, J., Xiaoxiong, C., & Ekwirunphon, W. (2022). Factors affecting Chinese undergraduate students studying in Bangkok’s willingness to purchase smart phones in Thailand. Journal of Humanities & Social Sciences (JHUSOC), 20(1), 143-164. Retrieved from

https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jhusoc/article/view/258556

Schreiber, J. B., Stage, F. K., King, J., Nora, A., & Barlow, E. A. (2006). Reporting structural equation modeling and confirmatory factor analysis results: a review. The Journal of Educational Research, 99(6), 323-337. https://doi.org/10.3200/JOER.99.6.323-338

Schumacker, R. E., & Lomax, R. G. (2004). A beginner's guide to structural equation modeling. (2nd ed.). Lawrence Erlbaum Associates.

Thompson, B. (2004). Exploratory and confirmatory factor analysis: Understanding concepts and applications. American Psychological Association.

Ullman, M. T. (2001). The declarative/procedural model of lexicon and grammar. Journal of Psycholinguistic Research, 30(1), 37-69. https://doi.org/10.1023/A:1005204207369

We are social. (2023). Digital 2023. Retrieved from https://wearesocial.com/us/blog/2023/01/digital-2023/

Zhao, J. (2023). Effects of short video marketing on consumer’s purchase intention: a case of Florasis Corporation, LTD. Journal of Wisdom the Political Science and Multi-Disciplinary Sciences, 6(5), 1-16. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/WPSMS /article/view/266999