การจัดทำผังแม่บทเมืองประวัติศาสตร์รัฐสุพรรณภูมิ โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วม อำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี

ผู้แต่ง

  • ฉันทัส เพียรธรรม สาขาวิชาพัฒนาเมือง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

บทคัดย่อ

งำนวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำผังแม่บท และแผนจัดกำรมรดกทำงประวัติศำสตร์รัฐสุพรรณภูมิ โดยใช้กระบวนกำรมีส่วนร่วม ผลกำรวิจัยมีเนื้อหำ แบ่งออกเป็น 4 ส่วน ส่วนที่หนึ่ง ประกอบด้วยกำร สำระสำคัญทำงประวัติศำสตร์รัฐสุพรรณภูมิ ในช่วง พุทธศตวรรษที่ 19 - 20 สำระสำคัญเหล่ำนี้จะประกอบด้วย บุคคล เหตุกำรณ์ สถำนที่ รวมถึงศิลปกรรมเจดีย์ ซึ่งชี้ ให้เห็นถึงควำมสำคัญของรัฐสุพรรณภูมิที่มีขอบเขต อำนำจในบริเวณภำคกลำงฝั่งตะวันตก และมีกลุ่มผู้นำ ทำงกำรเมือง ซึ่งต่อมำได้เข้ำไปมีอิทธิพลทำงกำรเมือง กำรปกครองของกรุงศรีอยุธยำในช่วงสมัยตอนต้นและ ตอนกลำง โดยมีพระมหำกษัตริย์อยุธยำที่สืบมำจำกผู้นำ รำชวงศ์สุพรรณภูมิถึง 13 พระองค์ ส่วนที่สอง เป็นกำร นำเอำสำระสำคัญในส่วนแรกมำผนวกเข้ำกับประเด็น กำรสร้ำงแหล่งเรียนรู้ โดยออกแบบเป็นคุณค่ำ 3 ประกำร คือ คุณค่ำทำงนิเวศวัฒนธรรม คุณค่ำทำงประวัติศำสตร์ เศรษฐกิจกำรเมือง และคุณค่ำทำงศิลปกรรมและคติ ควำมเชื่อ คุณค่ำทั้ง 3 ประกำรนี้ถูกใช้เป็นโครงเรื่อง (Theme) ในกำรพัฒนำและอนุรักษ์เมืองประวัติศำสตร์ ซึ่งเป็นทั้งแหล่งท่องเที่ยวและแหล่งเรียนรู้ไปพร้อมกัน ส่วนที่สำม เป็นผังแม่บทเมืองประวัติศำสตร์ โดยผัง แม่บทจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือส่วนพื้นที่หลัก (Core Area) และส่วนพื้นที่รอง (Related Area) ในส่วน พื้นที่หลัก ผู้วิจัยเสนอแนะให้ปรับปรุงพื้นที่บริเวณหน้ำ วัดพระรูป วัดพระศรีรัตนมหำธำตุ วัดป่ำเลไลยก์ ท่ำน้ำ บริเวณหน้ำวัดพระรูป ทำงสัญจรระหว่ำงวัดสำคัญต่ำง ๆ แนวกำแพงเมือง-คูเมือง-ป้อม เป็นต้น ส่วนพื้นที่รอง ผู้วิจัยเสนอแนะให้ปรับปรุงพื้นที่ในกำแพงเมือง วัดสุวรรณภูมิ วัดกุฎีสงฆ์ วัดพึ่ง วัดชุมนุมสงฆ์ ฯลฯ โดยใช้ แนวทางเดียวกับพื้นที่หลัก แต่ประยุกต์ให้เหมาะสม
               งานวิจัยนี้เป็นเครื่องส่งเสริมให้เกิด กระบวนการพัฒนาสังคมชุมชนท้องถิ่น โดยเป็น การนำเอาทุนทางประวัติศาสตร์-วัฒนธรรมที่มีใน ท้องถิ่นมาใช้ ทั้งนี้หากภาคีที่เกี่ยวข้องช่วยกันขับเคลื่อน ก็ยิ่งทำให้เกิดกระแสการพัฒนาและอนุรักษ์ อันจะ นำไปสู่โครงการต่าง ๆ ที่ทุกฝ่ายร่วมมือกัน ทำให้เมืองเก่า สุพรรณบุรีกลายเป็นเมืองประวัติศาสตร์ที่มีคุณค่า โดยเป็นทั้งแหล่งท่องเที่ยวและแหล่งเรียนรู้ที่มี ความสำคัญ

References

ยิ่งยง เทาประเสริฐ และคณะ. (2547). การศึกษาพัฒนาแนวทางความพร้อมในการบริหารจัดการวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน. กรุงเทพฯ: สถาบันวัฒนธรรมศึกษา กระทรวงวัฒนธรรม.
คีรีบูน จงวุฒิเวศย์ และมาเรียม นิลพันธุ์. (2547). โครงการสืบค้นประวัติศําสตร์วัฒนธรรมท้องถิ่น: การเรียนรู้กระบวนการเสริมศักยภาพการวิจัยชุมชนในพื้นที่อําเภอหว้านใหญ่และอําเภอหนองสูง จังหวัดมุกดาหาร. กรุงเทพฯ: สถาบันวัฒนธรรมศึกษา กระทรวงวัฒนธรรม.

พงศ์เดช ไชยคุตร. (2548). ปัญหําและแนวทางแก้ไขสภาพการดําเนินงานของสภาวัฒนธรรม ศูนย์วัฒนธรรม และสํานักงานวัฒนธรรมในเขตภาคเหนือ. กรุงเทพฯ: สถาบันวัฒนธรรมศึกษา กระทรวงวัฒนธรรม.

ไชยยศ จันทราทิตย์. (2550). แนวคิดและรูปแบบการสร้างองค์กรเครือข่ายหรือองค์กรภาคประชาชนในบริบทศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยในประเทศไทย กรณีศึกษาภาคเหนือภาคกลางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ ภาคใต้.

Ana Pereira Roders, Ron van Oers. (2012). Guidance on heritage impact assessments: Learning from its application on World Heritage site management. Journal of Cultural Heritage Management and Sustainable Development. Volume: 2

Silvio Mendes Zancheti, Lúcia Tone Ferreira Hidaka. (2012). Measuring urban heritage conservation: indicator, weights and instruments (part 2). Journal of Cultural Heritage Management and Sustainable Development. Volume: 2

Gustavo F. Araoz. (2011). Preserving heritage places under a new paradigm. Journal of Cultural Heritage Management and Sustainable Development. Volume: 1

Silvio Mendes Zancheti, Lúcia Tone Ferreira Hidaka. (2011). Measuring urban heritage conservation: theory and structure (part 1). Journal of Cultural Heritage Management and Sustainable Development. Volume: 1

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-03-12