การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลวังซ้าย อำเภอวังเหนือ จังหวัดลำปาง

ผู้แต่ง

  • พีระ พันธุ์งาม สถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค

คำสำคัญ:

การบริหาร, หลักธรรมาภิบาล, องค์การบริหารส่วนตำบล

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการ บริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหาร ส่วนตำบลวังซ้าย อำเภอวังเหนือ จังหวัดลำปาง 2) ศึกษา เปรียบเทียบการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 3) ข้อเสนอแนะ การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหาร ส่วนตำบลวังซ้าย วิธีดำเนินการวิจัยเป็นการศึกษาวิจัย แบบผสมผสาน การวิจัยเชิงปริมาณใช้แบบสอบถาม แบบประมาณค่า 5 ระดับ กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 371 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจง ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าทีโดยการวิเคราะห์ความแปรปรวน ทางเดียว และเมื่อพบความแตกต่างจะทำการทดสอบ ความแตกต่างรายคู่โดยวิธี LSD และการวิจัย เชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลจำนวน 10 คน ได้แก่ กำนัน/ ผู้ใหญ่บ้าน ในตำบลวังซ้าย วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิเคราะห์ เชิงเนื้อหาและเปรียบเทียบเนื้อหา
           ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารงานตามหลัก ธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลวังซ้าย มีการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลในภาพรวมอยู่ใน ระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านเรียงจากค่าเฉลี่ย มากไปหาน้อย อันดับที่ 1 ด้านหลักความคุ้มค่า อันดับ ที่ 2 ด้านหลักการมีส่วนร่วม อันดับที่ 3 ด้านหลักนิติธรรม อันดับที่ 4 ด้านหลักคุณธรรม อันดับที่ 5 ด้านหลัก ความโปร่งใส อันดับที่ 6 ด้านหลักความรับผิดชอบ 2) ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ปัจจัยส่วนบุคคล เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ที่ต่างกันมีความคิดเห็นต่อการบริหารงานตามหลัก ธรรมาภิบาลแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 3) ข้อเสนอแนะประเด็นสำคัญ ได้แก่ สภาองค์การบริหารส่วนตำบลวังซ้ายควรมีการ ตรวจสอบการออกข้อบัญญัติ กฎ ระเบียบให้สอดคล้อง กับความจำเป็นตรงกับสภาพปัญหาของท้องถิ่น ควรจัด ระบบการควบคุมภายในเพื่อป้องกันปัญหาการทุจริต ประพฤติมิชอบ การดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการ ต้องมีความโปร่งใส มีหลักฐานสามารถตรวจสอบได้ และควรส่งเสริมสนับสนุนให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วม ในการตรวจสอบการบริหารงานโดยจัดให้มีศูนย์เครือข่าย ภาคีประชาชนร่วมติดตามตรวจสอบการบริหารงาน

References

กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF). (2540). ถอดบทเรียนวิกฤตต้มยำกุ้งผ่านเศรษฐกิจประเทศไทยและภูมิภาคอาเชียน. สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราฎร. ISBN 2287-0520.http;//www.parliament.go.th/library.

โกวิทย์ พวงงาม. (2554). การเก็บภาษีอากรตามประมวลรัชฎากร. กรุงเทพมหานคร: ม.ป.พ. จตุพล ดวงจิต. (2554).ได้วิจัยเรื่อง ”การกระจายอำนาจสู่การปกครองส่วนท้องถิ่น : กรณีศึกษาการถ่ายโอนอำนาจของอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาให้กับเทศบาลนพระนครศรีอยุธยา„. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง, กรุงเทพมหานคร.

ธีรยุทธ์ บุญมี. (2542). หลักรัฐประศาสนศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: คณะรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ธีรวัฒน์ ชูญาติ. (2552). การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานีเขต 2. การค้นคว้าอิสระ การบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอีสาน.

ธรรศพงศ์ วงษ์สวัสดิ์ และเอนก นอบเผือก. (2561). ได้วิจัยเรื่อง การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลท่านางงาม อำเภอบางระกำ จังหวัดจังหวัดพิษณุโลก. วารสาร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 ม.ค. - เม.ย. 25

นุกุล วัฒนากร. (2554). การมีส่วนร่วมของประชาชน ในการปกครองท้องถิ่น ศึกษาเฉพาะกรณีองค์การบริหารส่วนตำบลบางรักน้อย อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี. รายงานการศึกษาอิสระรัฐประศาสนศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย, กรุงเทพมหานคร.

บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. (2542). การสร้างธรรมาภิบาลในสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: วิญญูชน.

ปัญญา ฉายะจินดาวงศ์ และรัชนี ภู่ตระกูล. (2549). ธรรมาภิบาล (Good Governance) กับสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: บพิธการพิมพ์.

ประมวล รุจนเสรี. (2554). การบริหาร-การจัดการที่ดี (Good Governance). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์อาสารักษ์ ดินแดง.

พิทยา บวรวัฒนา. (2556). ทฤษฎีองค์กรสำหรับรัฐประศาสนศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พิทยา สุนทรวิภาต. (2554). การนำหลักธรรมาภิบาลมาประยุกต์ใช้กับองค์การบริหารส่วนตำบล. กรุงเทพมหานคร.

พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2549). ยุทธศาสตร์พระพุทธศาสนากับการพัฒนาประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ มูลนิธิโกมลคีมทอง.

พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546. เล่ม 120 ตอนที่ 100 ก 9 ตุลาคม 2546.

พระสวัสดิ์ ชินวํโส (เชื้อคำฮด). (2555). การศึกษาเรื่อง ความเป็นธรรมาภิบาลของนายกองค์การบริหารส่วนตำบล ในจังหวัดร้อยเอ็ด. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2545). การจัดการและพฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพมหานคร: ธีระฟิลม์ และไซเท็กซ์ จำกัด.

สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน สำนักงาน ก.พ. (2545). Good governance กับการพัฒนาข้าราชการ. กรุงเทพมหานคร: หจก. ไอเดียร์สแควร์.

สำนักมาตรฐานการบริหารงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. (2556). รายงานผลการประเมินประสิทธิภาพ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประจำปี พ.ศ. 2558. กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. กระทรวงมหาดไทย.

สิริพัฒน์ ลาภจิตร. (2550). ปัจจัยทีส่งผลต่อการตัดสินในมีส่วนร่วมของประชาชนในการสนับสนุนการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตำบล อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์ รป.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์). กรุงเทพมหานคร: บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุเมธ แสงนิ่มนวล.(2552). หลักธรรมาภิบาลในการเลือกตั้งในปี 2004. กรุงเทพมหานคร: ส เจริญ การพิมพ์.

อรพินท์ สพโชคชัย. (2553). วิจัยเรื่อง แนวทางการนำหลักธรรมาภิบาลมาประยุกต์ใช้สำหรับการบริหารงานส่วนท้องถิ่นเพื่อเสนอรูปแบบและแนวทางในการสร้างธรรมาภิบาลในระดับตำบลและหมู่บ้าน. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิยาลัย มหาวิยาลัยมหาสารคาม.

มหาสารคาม. Chokchutchawankul. A.(2013). The management according to good governance at the sub-district administrative organization: case study of NongYa Sai District area, Suphanburi Province. Thesis of Master of Education. Thongsook College. (in Thai)

Fukflang, S. (2014). Staff understands on management according good governance at Thahong Sub-district Administrative Organization, Sawankhalok District,Sukhothai Province. Thesis of Master of Education. Thongsook College. (in Thai)

Kreusuwan, B. (2015). Study of good governance management of chief executive of the SAO in Tak Province. Thesis of Master of Public Administration. Thongsook College. (in Thai)

Meungpratup Phra. (2011). The administration of sub-district organization according to good governance Bangkrauy District Nonthaburi. Graduate SchoolMaster of Arts Thesis. Mahachulalongkornrajavidyalaya University. (in Thai)

Singsai, M. (2013). Staff’s understanding on good governance at Thai Chana SuekSub-district Administrative Organization, ThungSaliam District, Sukhothai. Thesis of Master of Public Administration. Thongsook College. (in Thai)

Srivaranon, S. (2015). Management according to good governance at Chom Thong Sub-district Administrative Organization Mueang Phitsanulok Province. Thesis of Master of Education. Thongsook College. (in Thai)

Thongduong, S. (2011). Management according to good governance at Pang Makha Sub-district Administrative Organization, KhanuWoralaksaburi District, Kamphaeng Phet. Graduate School Master of Arts (Public Administration) Thesis. Mahachulalongkornrajavidyalaya University. (in Thai)

Wongsawad, T. (2016). The administration according to good governance at ThapPhuengSub-district Administrative Organization, Si Samrong District, Sukhothai Province. Academic Service Research Literature within the Project of Memorandum of Understanding ”Sub-district Administrative Organization with Moral and Good Governance for Servicing„. Bangkok:Thongsook College. (in Thai)

Wongsriwong, P. (2015). Adaptation of good governance into management at LanKrabue Sub-district Administrative Organization LanKrabue District Kamphaeng Phet. Thesis of Master of Public Administration. Thongsook College. (in Thai)

World Bank. (1989). World Development Report 1989 : Financial Systems and Development. New York: Oxford University Press. © World Bank. https://openknowledge.worldbank.org/handle/10986/5972 License: CC BY 3.0 IGO.

Yamane Taro. (1970). Statistic: An Introductory Analysis. Tokyo: Harper International Edition.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-03-12