การพัฒนาชุมชนแบบพี่งตนเองบ้านหนองตาไก้ ตำบลอากาศ อำเภออากาศอำนวย จังหวัดสกลนคร

ผู้แต่ง

  • ภาณุพงศ์ สามารถ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
  • เพ็ญศรี บางบอน คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยลัยราชภัฏพระนคร

คำสำคัญ:

การพัฒนา, ชุมชน, แบบพึ่งตนเอง

บทคัดย่อ

  การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการ พัฒนาชุมชนแบบพึ่งตนเองและภูมิปัญญาท้องถิ่น 2) เพื่อศึกษาหลักการบริหารจัดการ 3) เพื่อศึกษาปัญหา/ อุปสรรคในการพัฒ นาชุมชนแบบพึ่งตนเอง ประชากรคือ ผู้นำชุมชน จำนวน 13 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ รวบรวมข้อมูล ได้แก่แนวสัมภาษณ์เชิงลึ้กการสนทนา กลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีวิเคราะหเ์นื้อหาและนำเสนอ แบบพรรณนาวิเคราะห์ 
               ผลการวิจัยพบว่า 1) การพัฒนาชุมชนแบบพึ่งตนเอง สามารถพึ่งตนเองได้มี  5 ด้าน คือ ด้านเทคโนโลยี เศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติ จิตใจ และสังคม ภูมิ ปัญญาท้องถิ่น ได้แก่ การทอผ้ามัดหมี่ การทำเครื่องจักสาน การทำเครื่องดักจับปลา การมีส่วนร่วมในการ อนุรักษ์ภูมิปญัญาท้องถิ่นและรู้จักกับการใช้ภูมิปัญญา ท้องถิ่นที่มีอยู่เกิดประโยชน์ การรวมกลุ่มกันเพื่อนำภูมิ ปัญญาในด้านต่าง ๆ มาพัฒนาเพื่อให้เกิดรายได้ 2) หลักการบริหารจัดการของชุมชนให้ประสบผลสำเร็จ ได้แก่มีผู้นำที่มีความเข้มแข็งเสียสละ อดทน ทำประโยชน์เพื่อ ส่วนรวม ยึดหลักคุณธรรม มีความยึดหยุ่น ปรับหลักการทำงานให้เหมาะสมกับ สถานการณ์ เปิดโอกาสให้ทุกคนเข้าร่วมทำกิจกรรมในทุกๆ ด้านการมีส่วนร่วมในการ ตัดสินใจ แสดงความคิดเห็น และตรวจสอบการทาํ งาน ของชุมชน กลุ่มองค์กรต่าง ๆ 3) ปัญหาการพัฒนา ได้แก่ดา้นสังคม ด้านเศรษฐกิจและด้านการเกษตร

References

กระทรวงมหาดไทย. (2540). ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมชุมชนและชนชาติไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กระทรวงมหาดไทย. (2541). เศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเองแนวคิดและยุทธศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์บริษัททรงสิทธิวรรณ จำกัด.

กาญจนา เทพแก้ว. (2538). การพึ่งตนเอง ศักยภาพในการพัฒนาชนบท. กรุงเทพมหานคร: รุ่งเรืองศาสน์การพิมพ์.

จิตรี ภู่ตระกูล. (2546). การบริหารจัดการกลุ่มอาชีพหัตถกรรมจากกกในเขต พื้นที่จังหวัดบุรีรัมย์. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์เพื่อพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ฉัตรทิพย์ นาถสุภา. (2541) .ทฤษฎีและแนวคิดเศรษฐกิจชุมชนชาวนา. กรุงเทพมหานคร: บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.

ประเวศ วะสี.(2541). ยุทธศาสตร์ชาติเพื่อความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ สังคมและศีลธรรม.กรุงเทพมหานคร.สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน.

ไพศาล วิสาโล, พระ.(2533). พุทธรรมกับการพัฒนาสังคม.กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มูลนิธิโกมลคีมทอง.

วิบูลย์ เข็มเฉลิม.(2532). สู่สังคมวนเกษตรมีกินตลอดชีวิต. กรุงเทพมหานคร: เจริญวิทย์การพิมพ์.

เสน่ห์ จามริก.(2537). กรอบและตัวชีวัดในการพัฒนาชนบททางใหม่.เอกสารการสัมมนา.

อาศรม วงศ์สนิท จังหวัดนครนายก.

อาร์ม หรุ่นศิริ (2545). แนวนโยบายหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์และการพัฒนาแบบยั่งยืน: กรณีศึกษากลุ่มจักสานตำบลบางเจ้าฉ่า อำเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทอง. วิทยานิพนธ์ศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิต,มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-03-12