ปัจจัยทื่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาการประกอบธุรกิจส่งออกสินค้าชายแดน ไทยและกัมพูชา กรณีศึกษา จังหวัดสระแก้ว

ผู้แต่ง

  • สมาน บูชารัตนชัย มหาวิทยาลัยปทุมธานี

คำสำคัญ:

การพัฒนาธุรกิจส่งออก, การค้าชายแดน

บทคัดย่อ

 การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับ ปัจจัย ที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาการประกอบธุรกิจส่งออก สินค้าชายแดนไทย และกัมพูชา จังหวัดสระแก้ว 2) ระดับ การพัฒนาการประกอบธุรกิจส่งออกสินค้าชายแดนไทย และ กัมพูชา จังหวัด สระแก้ว 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัย ที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนา การประกอบธุรกิจส่งออก สินค้าชายแดนไทย และกัมพูชา กับการพัฒนาการประกอบ ธุรกิจส่งออกสินค้า ชายแดนไทย และกัมพูชา จังหวัด สระแก้ว ประชากรกลุ่มตัว อย่างที่ใช้ในการวิจัย ครั้งนี้คือ ผู้ประกอบธุรกิจส่งออกสินค้า ชายแดนไทย และกัมพูชา ที่ แจ้ง รายชื่อเป็นผู้ส้งออกไว้ทีด่านศุลกากรอรัญ ประเทศ จังหวัดสระแก้ว จำนวน 269 คน เครื่องมือที่ใช้ในการ รวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถาม วิเคราะห์ขอ้มูลโดยใช้สถิติ เชิงพรรณนา ค่าร้อยละ ค่าเฉลีย่ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ สหสัมพันธ์ และสถิติเชิงอนุมาน การถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า
                 1) ปัจจยั ที่มีอิทธิพลต่อการประกอบธุรกิจ ส่งออกสินค้าชายแดนไทย และกัมพูชา ในภาพรวม มี ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีค่าเฉลี่ย 3.22 เมื่อ พิจารณาเป็นรายด้าน ตามลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ลำดับแรก คือ ด้านสถานะของผู้ประกอบการไทย และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านนโยบายการเมือ ง การต่างประเทศ 
                 2) การพัฒนาการประกอบธุรกิจส่งออกสินค้า ชายแดนไทยและกัมพูชา จังหวัด สระแก้ว โดยภาพรวม มี ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ย 3.70 เมื่อ พิจารณาเป็นรายข้อตามลำดบั ค่าเฉลี่ยจากมากไปหา น้อย ลำดับแรก คือความต้องการขยายธุรกิจของ ผู้ประกอบการออกไปมากกว่านี้ ส่วนขอ้ที่มีค่าเฉลี่ยน้อย ที่สุด คือ การมีส่วนแบ่งการตลาดตามประเภทธุรกิจที่ ผู้ประกอบการดำเนินการอยู่ เป็นที่น่าพอใจ 
                 3) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อการพฒั นาการประกอบธุรกิจส่งออกสินคา้ ชายแดนไทย-กัมพูชา ด้านสถานะผู้ประกอบการไทย และความก้าวหน้า ทางคมนาคมและเทคโนโลยี มีความ สัมพันธ์กับการพัฒนาการประกอบธุรกิจส่งออกสินค้า ชายแดนไทยและกัมพูชา จังหวัด สระแก้ว โดยมีความ สัมพันธ์กัน ในทิศทางเดียวกัน ส่วนปัจจัย กลยุทธ์การตลาด ความแตกต่างของสภาพสังคม และวัฒนธรรม นโยบาย การเมืองต่างประเทศ กฎระเบียบการค้าระหว่างประเทศ นโยบายส่งเสริมทางด้านเศรษฐกิจ และการปฏิบัติหน้าที่ ของเจา้หน้าที่ภาครัฐ ไม่มีความสัมพันธ์กับการพัฒนาการ ประกอบธุรกิจส่งออกสินค้า ชายแดนไทยและกัมพูชาจังหวัดสระแก้ว

References

กรมส่งเสริมการส่งออก. [ออนไลน์]. (2557, 8 มิถุนายน). ความรู้เบื้องต้นในการประกอบธุรกิจส่งออก.

จังหวัดสระแก้ว. (2554). ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดสระแก้ว(พ.ศ.2554-2556). สำนักงานจังหวัดสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว: ช.ดำรงชัยการพิมพ์.

ไซมอน โชติอนันต์ พลตื้อ. [ออนไลน์]. (2557, 15 มิถุนายน). การวางแผนกลยุทธ์การตลาดสมัยใหม่. บริษัทซิมแอนด์ซัน คอมมิวนิเคชั่น (ประเทศไทย) จำกัด.

ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2555). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS และ AMOS. (พิมพ์ครั้งที่ 13). กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนสามัญบิสซิเนสอาร์แอนด์ดี.

ทวีศักดิ์ เทพพิทักษ์. (2553). การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: ธรรกมลการพิมพ์.

ภูษณิศา เตชเถกิง. (2556). การตลาดระหว่างประเทศ. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

สมชนก (คุ้มพันธุ์) ภาสกรจรัส. (2550). หลักการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แมคกรอ-ฮิล.

สำนักงานจังหวัดสระแก้ว. (ม.ป.ป.). ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดสระแก้ว (พ.ศ.2554-2556). จังหวัดสระแก้ว: ช.ดำรงชัยการพิมพ์.

สำนักงานพาณิชย์จังหวัดสระแก้ว. [ออนไลน์]. (2557, 18 มิถุนายน). สรุปภาวการณ์ค้าชายแดนไทย - กัมพูชา ปี 2556.

สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ร่วมกับ สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษาฯ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. [ออนไลน์]. (2557, 15 มิถุนายน). รายงานการศึกษา Country Profile ประเทศกัมพูชา.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. [ออนไลน์]. (2557, 25 มิถุนายน). ศูนย์สารสนเทศยุทธศาสตร์ภาครัฐ. มูลค่าการค้าชายแดน.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ.(2546). คู่มือคำอธิบายและแนวทางปฏิบัติตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนา ระบบราชการ.

Leonidoe, Leonidas C., Constantine S. Katsikeas and Saeed Samiee. (2002). Marketing Strategy Determinants of Export Performance: a Meta-Analysis. Journal of Business Research.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-03-12