ปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ของพนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขต 3 ภาคเหนือ

ผู้แต่ง

  • ดาบส งามศรีขำ มหาวิทยาลัยปทุมธานี

คำสำคัญ:

ปัจจัยที่, ใฝ่สัมฤทธิ์, พนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่องปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ ของพนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเขต 3 ภาคเหนือ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลแรงจูงใจใฝ่ สมัฤทธิ์ ของพนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขต 3 ภาคเหนือ โดยใช้ แบบสอบถามที่ผู้วิจัย สร้างขึ้น มีค่าความน่าเชื่อถือเท่ากับ .938 ผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเองและทีมงาน จาก ประชากรกลุ่มตัวอย่างในเขตพื้นที่การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขต 3 ภาคเหนือ จำนวน 330 คน ในระหว่างเดือน มิถุนายน 2555 – กันยายน 2556 นำมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติเพื่อวิเคราะห์หาค่าทางสถิติ ได้แก่จำนวนร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) หาค่าความ สัมพันธ์ของปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธ์ิของ พนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเขต 3 ภาคเหนือ โดยใช้สถิติ หาค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ (Correlation) ของ Pearson’s Correlation และการวิเคราะห์ความถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) การวิเคราะห์ความถดถอยพหุคูณ ตามลำดับความสำคัญของตัวแปรที่เข้าสมการ (Stepwise Multiple Regression Analysis) พนักงานการไฟฟ้าของการ ไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเขต 3 ภาคเหนือ ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มี อายุอยู่ในช่วง 51 – 60 ปี การศึกษาอยู่ในระดับ อนุปริญญา หรือเทียบเท่า รองลงมาคือระดับ ปริญญาตรี ส่วนใหญ่มี สถานภาพสมรสแล้ว อยู่ด้วยกัน โดยมีอายุ การทำงาน 31 ปี ขึ้นไป รองลงมาอยู่ในระหว่าง 21-30 ปี ซึ่งมีรายไดต้ ่อเดือน 10,000-20,000 บาท และรองลงมาอยู่ในช่วง 20,001 – 30,000 บาท

References

เกษียร เตชะพีระ. (2541). ธรรมรัฐ – ธรรมราชา. พีเพิล ปีที่ 10, ฉบับ 101 ปักษ์หลัง (มิถุนายน 2541): 30-32.

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, สถาบันพัฒนานโยบายและการจัดการ. (2543). ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของข้าราชการไทยยุค ค.ศ.2000. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จิราภรณ์ หวังพิทักษ์. (2550). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน กองบังคับการตำรวจภูธร จังหวัดสุราษร์ธานี. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.

เจษฎา บุญมาโฮม. (2546). พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน=Human Behavior and Development. นครปฐม: คณะคุรุศาสตร์ สถาบันราชภัฏนครปฐม.

ฉวีวรรณ วรรณประเสริฐ. (2522). สังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: แพร่วิทยา.

ชัยพล เอกกุล. (2544). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจฝ่าย ป้องกันปราบปรามในสถานีตำรวจนครบาลบางโพงพาง. กรุงเทพมหานคร: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

ชัยอนันต์ สมุทวณิช. (2541). 100 ปี แห่งการปฏิรูประบบราชการวิวัฒนาการของอำนาจรัฐและอำนาจการเมือง. กรุงเทพมหานคร: สถาบันนโยบายศึกษา.

ชาญชัย อาจินสมาจาร. (2540). ศัพท์การบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: คอมแพคท์พริ้นท์.

ไชยวัฒน์. ประสิทธิ์ พึ่งวิชัย. (2539). เทคนิคในการเป็นผู้นำ: หลักการและองค์ประกอบสำคัญที่ผู้นำพึงมี. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์วิทยบริการศาลยุติธรรม.

ฐานปนา ฉิ่นไพศาล. (2544). การเงินธุรกิจ (ฉบับสมบูรณ์). (พิมพ์ครั้งที่ 11). กรุงเทพมหานคร.

ตุลา มหาพสุธานนท์. (2547). หลักการจัดการหลักการบริหาร. กรุงเทพมหานคร: เพิ่มทรัพย์การพิมพ์.

ทิพาวดี เมฆสวรรค์. การส่งเสริมประสิทธิภาพในส่วนราชการ. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการ ข้าราชการพลเรือน, 2538): 2

เทพพนม เมืองแมน. สวิง สุวรรณ. (2540). พฤติกรรมองค์การ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช.

ธมลวรรณ แก้วจำรัส. (2548). งานวิจัยเรื่องความผูกพันต่อองค์กร: ศึกษาเฉพาะกรณีบริษัทแพรคติก้า จำกัด. กรุงเทพมหานคร: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

ธัญญา ผลอนันต์. (2546). คำคน: หนังสือรวมคำศัพท์บริหารทรัพยากรมนุษย์ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: เนชั่น มัลติมีเดียกรุ๊ป.

นพพงษ์ บุญจิตราดุลย์. (2534). หลักการบริหารการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: บพิธการพิมพ์.

บวรศักดิ์ อุวรรณโน. (2542). การสร้างธรรมาภิบาล. (good governance). ในสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญูชน.

บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ. (2544). ตัวชี้วัดธรรมาภิบาล. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า.

ปรีชา ช้างขวัญยืน. (2542). ธรรมรัฐ – ธรรมราชา. กรุงเทพมหานคร: โครงการตำราคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ประชุม รอดประเสริฐ. (2540). นโยบายการวางแผนหลักการและทฤษฎี. กรุงเทพฯ: เนติกุลการพิมพ์.

ศิริพัฒน์ คุณวุฒิฤทธิรณ. (2555). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำนโยบายเมืองน่าอยู่ของเทศบาลในเขตกระทรวงสาธารณสุขเขต 2 ไปปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยปทุมธานี.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2541). การบริหารการตลาดยุคใหม่. กรุงเทพมหานคร: วิสิทธิ์พัฒนา.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์. และคณะ. (2545). องค์การและการจัดการ. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสาร.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์. และคณะ. (2541). พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพมหานคร: ธีระฟิล์มและ ไซเท็กซ์.

สุเทพ พงศ์ศรีวัฒน์. (2544). ภาวะผู้นำ. ทฤษฎีและปฏิบัติ. เชียงราย: สถาบันราชภัฏเชียงราย.

อดุลย์ หริรักษ์เสาวนีย์. (2543). ความพึงพอใจของลูกค้าต่อการให้บริการของธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน). ศึกษากรณีเขตอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

อำนวย แสงสว่าง. (2545). จิตวิทยาอุตสาหกรรม. กรุงเทพมหานคร: ทิพยวิสุทธิ์.

อำนาจ ธีระวนิช. (2544). การจัดการธุรกิจขนาดย่อม. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

เอกชัย กี่สุขพันธ์. (2543). การบริหารทักษะและการปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: อรุณการพิมพ์.

Agree, S. (2000). Promoting Good Governance. Principles. Practices and. Perepective. London: Commonwealth Seeretarion.

Brumel. C.M. (2001). Foreign Aid. Donor Coordination and the Pursuit of Good Governance (Kenya). Ph.D. Dissertation University of Maryland.

Burr. Russell Kenneth. (1981). Job Satisfaction Determinants for Selected Admenistrator in Florida’s Community Colleges and Universities: An application of Herzberg’s Motivator – Hygiene Theory. Dissertation Abstracts Intemational.

Chen & Lin 2004. C. Chen and B. Lin,2004. The effects of environment, knowledge attribute. organizational climate. and firm characteristics on knowledge sourcing decisions. R&D Management 34: 137–146.

David Kingston, 2006. Building an Effective and Enjoyable Work Environment. Available

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-03-12