ปัญหาข้อกฎหมายในการพิสูจน์ความเป็นเจ้าของเครื่องหมายการค้าตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ. 2534

ผู้แต่ง

  • กัมพล วันทา สำนักตรวจราชการและติดตามประเมินผล สำนักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
  • บัณฑิต ขวาโยธา กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประจำจังหวัดอุดรธานี
  • ฐิติวัฒน์ ยะชัยมา ฝ่ายอำนวยการ 2 กองบังคับการอำนวยการ สำนักงาน นายตำรวจราชสำนักประจำ

คำสำคัญ:

ปัญหาข้อกฎหมาย, พิสูจน์, ควบคุม, เครื่องหมายการค้า

บทคัดย่อ

 วิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาถึง แนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ เครื่องหมายการค้า และทางแก้ไขปัญหาข้อเท็จจริง และปัญหาข้อกฎหมายของมาตรการทางกฎหมายใน การปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับ เครื่องหมาย การค้า 
             การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยจะศึกษามุ่งศึกษา แนวคิด ทฤษฎี หลักกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการ พัฒนากฎหมาย เพื่อกำหนดมาตรการ และแนวทาง แก้ไขปัญหาข้อเท็จจริง และปัญหาข้อกฎหมายใน การปราบปรามการกระทำความผิด เกี่ยวกับเครื่องหมาย การค้าและการพิสูจน์ความเป็นเจ้าของเครื่องหมาย การค้าตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ. 2534
            จากการวิจัยทำให้ทราบว่า การพิสูจน์ความ มีชื่อเสียงของเครื่องหมายการค้า คือ เจ้าของ เครื่องหมายการค้าที่ได้จดทะเบี่ยนไว้แล้ว เท่านันจึง จะมีสิทธิฟ้องคดีเพื่อป้องกัน การละเมิดสิทธิของตน ผู้วิจัยจึงมีข้อเสนอแนะว่า ควรบัญญัติเพิ่มเติม ความหมายของคำว่า “เครื่องหมายการค้าที่มีชื่อ เสียงแพร่หลายทั่วไป” ว่ามีความหมายกว้างขวาง เพี่ยงใด เพื่อให้ง่ายต่อการพิสูจน์ความมีชื่อเสียงของ เครื่องหมายการค้า

References

จิตติ ติงศภัทิย์. (2536). กฎหมายอาญา ภาค 1.กรุงเทพมหานคร: สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา.

ฉัตรทิพย์ นาถสุภา และคณะ. (2527). ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ และสังคม. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์สร้างสรรค์ จำกัด.

ฉัตรทิพย์ นาถสุภา. (2555). ลัทธิเศรษฐกิจการเมือง.(พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชยันต์ ตัตติวัสดาการ. (2550).เศรษฐศาสตร์จุลภาค: ทฤษฎีและการประยุกต์. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ชวลิต อัตถศาสตร์. (2527). ลิขสิทธิ์ภายในประเทศ. วารสารกฎหมาย ปีที่ 9 ฉบับที่ 1.

ไชยยศ เหมพรัชตะ. (2549). คำอธิบายกฎหมายลิขสิทธิ์. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์นิติธรรม.

ถวิล ไพรสณฑ์. (2531). ร่างพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์กับจุดยืนของพรรคประชาธิปัตย์ในพรรคประชาชน. กรุงเทพมหานคร. พรรคประชาชน.

ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ์. (2540). กฎหมายอาญา หลักและปัญหา. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์นิติธรรม.

ธัชชัย ศุภผลศิริ. (2537). ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายลิขสิทธิ์ (ฉบับปัจจุบัน และร่างกฎหมายใหม่). เอกสารประกอบการอภิปราย เรื่องกฎหมายลิขสิทธิ์ฉบับใหม่กับธุรกิจของท่าน. 24 กุมภาพันธ์ 2537. จัดโดยสมาคมนิสิตเก่านิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: ม.ป.ท.

ธัชชัย ศุภผลศิริ. (2539). คำอธิบายกฎหมายลิขสิทธิ์. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์นิติธรรม

ธีระพงษ์ วิกิตเศรษฐ. (2546). จุลเศรษฐศษสตร์: ทฤษฎี และการประยุกต์. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

WIPO Copyright Treaty 1996 (WCT) World Intellectual Property Organization (WIPO), Guide to the Berne Convention for the Protection of Literary and Artistic Works (Paris Act 1971) (Geneva, Switzerland: WIPO, 1978)

World Intellectual Property Organization (WIPO). (1988). Background Reading Material on Intellectual Property (Geneva, Switzerland: WIPO)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-03-12