การศึกษาเปรียบเทียบบริหารงานประชาสัมพันธ์ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้น ที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ผู้แต่ง

  • สนั่น บุญเลิศ มหาวิทยาลัยปทุมธานี

คำสำคัญ:

การบริหารงานประชาสัมพันธ์, การเปรียบเทียบบริหารงานประชาสัมพันธ์ในโรงเรียนมัธยมศึกษา

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการ เปรียบเทียบการบริหารงานประชาสัมพันธ์ในโรงเรียน มัธยมศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร สำนักงานคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของผู้บริหารสถานศึกษา รองผู้บริหารสถานศึกษา ที่ดูแลงานประชาสัมพันธ์ และหัวหน้างานประชาสัม พันธ์ โรงเรียนมัธยมศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) เพื่อศึกษาระดับการบริหารงานประชาสัมพันธ์ใน โรงเรียนมัธยมศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร สำนัก งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของผู้บริหารสถานศึกษา รองผู้บริหารสถานศึกษา ที่ดูแลงานประชาสัมพันธ์ และหัวหน้างานประชาสัมพันธ์ โรงเรียนมัธยมศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน การวิจัย ครั้งนี้เป็นการศึกษาทั้งเชิงปริมาณ และ เสริมด้วยข้อมูลเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหาร สถานศึกษา รองผู้บริหารสถานศึกษาที่ดูแลงานประชาสัมพันธ์ และหัวหน้างานประชาสัมพันธ์โรงเรียนมัธยมศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร สำนัก งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 276 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ได้รับแบบสอบถามที่สมบูรณ์ 261 ฉบับ การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้โปรแกรม สำเร็จรูป หาค่าเฉลี่ย ร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การ วิเคราะห์สถิติอ้างอิง ไดแ้ก่ การวิเคราะห์ ความแปรปรวน ทางเดียว (One-Way Anova) ค่าสมัประสิทธ์ิ ความแปรปรวน (Coefficient of Variation) ค่าสหสัมพันธ์แบบ เพียร์สัน (Pearson’s Product Moment Coefficient) การวิเคราะห์ การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) การ นำเข้า สมการของตัวแปรด้วยวิธีการ (Stepwise Multiple Regression Analysis) ผลวิจัยปรากฏว่า
                 1. การศึกษาเปรียบเทียบการบริหารงานประชา สัมพันธ์ในโรงเรียนมัธยมศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร สำนัก งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานของผู้บริหารสถานศึกษา รองผู้บริหารสถานศึกษาที่ดูแลงานประชาสัมพันธ์ และ หัวหน้างานประชาสัมพันธ์โรงเรียนมัธยมศึกษา สำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปฏิบัติงานในระดับมาก 3 ด้าน คือ การวางแผน การจัดหาทรัพยากร และการ ประสานงาน ในระดับปานกลาง 2 ด้าน คือ การจูงใจให้ ปฏิบัติงาน และการประเมินผลงาน
                2. ระดับการปฏิบัติงานบริหารงานประชา สัมพันธ์ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ของผู้บริหารสถานศึกษา รองผู้บริหารสถานศึกษาที่ดูแลงานประชาสัมพันธ์ และหัวหน้างาน ประชาสัมพันธ์โรงเรียนมัธยมศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปฏิบัติงานที่มีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดบั .05 ปรากฏว่าไม่แตกต่างกัน 1 ด้าน คือ การจัดหาทรัพยากร แตกต่างกัน 4 ด้าน คือ การวางแผน การจูงใจให้ปฏบัติงานการประสานงาน และการประเมิน ผลงาน 
                3. ปัจจัยด้านต่างๆ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับ การเปรียบเทียบการบริหารงานประชาสัมพันธ์ในโรงเรียน มััธยมศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร สำนักงานคณะ กรรมการการศึกษาขัั้นพื้นฐาน ของผู้บริหารสถานศึกษา รองผู้บริหารสถานศึกษา ที่ดูแลงานประชาสัมพันธ์ และหัวหน้างานประชาสัมพันธ์ โรงเรียนมัธยมศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ โดยเรียงลำดับด้านที่มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์มากไปหาน้อยคือ ปัจจัยด้านการวางแผน(0.773) ปัจจัยด้านการจัดหาทรัพยากร (0.771) ปัจจัยด้านการจูงใจให้ปฏิบัติงาน (0.713) และ ปัจจัยด้านการประเมินผลงาน(0.656) ตามลำดับ

References

กรมสามัญศึกษา. (2542ก). เกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนมัธยมศึกษา.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์การศาสนา.

กระทรวงศึกษาธิการ. [ออนไลน์]. (2546). การบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. เข้าถึงได้จาก http://www.thailandawyercenter.com.

กิติมา ปรีดีดิลก. (2549). ทฤษฎีบริหารองค์การ. กรุงเทพมหานคร: ธนะการพิมพ์.

เกษม จันทร์น้อย. (2547). สื่อประชาสัมพันธ์. กรุงเทพมหานคร: นานมี บุคส์.

ชม ภูมิภาค. (2546). หลักการประชาสัมพันธ์. กรุงเทพมหานคร: รุ่งวัฒนาการพิมพ์.

ชัยนันท์ นันทาพันธ์. (2546). ประชาสัมพันธ์ให้ได้ผล. กรุงเทพมหานคร: หจก. แอนด์ การพิมพ์.

ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2540). เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์เจริญผล.

ณัฏฐพันธ์ ขจรนันท์. (2550). พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

ดรุณี หิรัญรักษ์. (2548). เทคนิคการหาข่าวและการเขียนข่าวหนังสือพิมพ์, กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นงนุช ศิริโรจน์. (2552). ปรัชญาการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช.

นิเทศศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2553). หลักการประชาสัมพันธ์. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นิเทศศาสตร์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2554). หลักการประชาสัมพันธ์นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

นพพงษ์ บุญจิตราดุลย์. (2540). หลักการบริหารการศึกษา.กรุงเทพมหานคร: ศูนย์การพิมพ์กรุงเทพมหานคร.

ปานจิตต์ ลิ้มโภคา. (2546). หลักการประชาสัมพันธ์. กรุงเทพมหานคร. (อัดสำเนา).

ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2535). จิตวิทยาการบริหารงานบุคคล. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.

พรทิพย์ พิมลสินธุ์. (2545). การวิจัยเพื่อการประชาสัมพันธ์. กรุงเทพมหานคร: วัฒนาพานิช.

พรทิพย์ วรกิจโภคาทร. (2540). การเลือกสื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์. กรุงเทพมหานคร. (อัดสำเนา).

ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2545). ปรัชญาการศึกษาเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ไพโรจน์ ชัยนาม. กรมโฆษณาการ. 60 ปี กรมประชาสัมพันธ์. (3 พฤษภาคม 2546).

รวิวงศ์ ศรีทองรุ่ง. (2542). การพูดเพื่อการประชาสัมพันธ์. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

รุ่งรัตน์ ชัยสำเร็จ. (2540). การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิรัช ลภิรัตนกุล. (2542). นักประชาสัมพันธ์กับงานประชาสัมพันธ์เชิงปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์.

สมพงษ์ เกษมสิน. (2556). การบริหาร. (พิมพ์ครั้งที่แปด). กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช.

สมพร มันตะสูตร แพ่งพิพัฒน์. (2540). การเขียนเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์.

สุภรณ์ ประดับแก้ว. (2543). สุพรวาที. นครปฐม: พระปฐมการพิมพ์.

สุภาวลี ชุณหศาสตร์. (2546). ประชาสัมพันธ์งานในอุดมคติ. น.4-5. นิเทศสาร. กรุงเทพมหานคร: อักษรบัณฑิต.

สุมิตรา อมรายน. (2541). กรมประชาสัมพันธ์ จากอดีต...ถึงปัจจุบัน. กรุงเทพมหานคร.

สุเมธ เตียวอิศเรศ. (2547). พฤติกรรมผู้นำทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: รุ่งวัฒนาการพิมพ์.

เสกสรร สายสีสด. (2541). หลักการโฆษณา และการประชาสัมพันธ์. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช.

เสนีย์ แดงวัง. (2545). การประชาสัมพันธ์แนวคิด และหลักวิธีปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: อักษรบัณฑิต.

เสริมวิทย์ศุภเมธี. (2550). การมัธยมศึกษา. กรุงเทพมหานคร: รวมมิตร.

เสรี วงษ์มณฑา. (2540). การประชาสัมพันธ์เชิงปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: ธนธัชการพิมพ์.

หวน พินธุพันธ์. (2549). การบริหารโรงเรียนด้านความสัมพันธ์ชุมชน. กรุงเทพมหานคร: อักษรบัณฑิต.

อัปษรศรี ปลอดเปลี่ยว. (2543). การประชาสัมพันธ์โรงเรียน. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

อุทัย หิรัญโต. (2542). การบริหารประยุกต์. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์.

เอกชัย กี่สุขพันธ์. (2547). หลักบริหารการศึกษาทั่วไป. กรุงเทพมหานคร: อนงค์ศิลป์การพิมพ์.

Airasian, P.W. ndGlickson, A.R. (1997). Teacher Self-Evaluation Tool Kit. CA: Corwin Press.

Argyris&Schon, (1978). Effectiveness of Training in Organizations: A Meta – Analysis of Design and Evaluation Features. Journal of Applied Psychology.

Alexander V. Laskin. 2005. Department of Public Relations, Quinnipiac University.

Bermays, E. L. 1952. Public Relations. Norman: University of Oklahoma Press.

Black, S. 1976. Practical Public Relations. London: Pitman Press Ltd.


Brown, W.B. &Moberg, D.J. (1980). Organization Theory and Management: A Macro Approach. New York: John Wiley & Songs.

Buchanan, J. (1998). Management Development for the Individual and the Organization. Personnel Management. (June), 40 – 44.

Campbell, R. F. and R. T. Gregg. 1957. Administrative Behavior in Education. New York: Harper and Brother.

Cascio, (1978). Applied Psychology in Human Resource Management: Fifth Edition. USA: Prentice Hall, Inc.

Chandler, G.E. (1992, Spring). The Source and Process of Empowerment. Nursing Administration Quarterly. 16: 65- 7 1.

Clifford, P.G. (1992, Spring). The Myth of Empowerment. Nursing Administration Quarterly.

Clutterbuck, D. & Kernaghan, S. (1994). The Power of Empowerment: Release the Hidden Talent of your Employees. London: Kogan Page.

Cutlip, S. M. and A. H. Center. 1978. Effective Public Relations. (5th ed.). New Jersey: Prentice-Hall Inc.

Douglas, H. R. 1978. Trends and Issues in Secondary Education. New Jersey: Prentice-Hall. Development Review. 3(4): 417 – 441.

Goodlad, J. I. A. 1984. Place Called School Prospects for the Future. New York: McGraw-Hill.

Hanson, E. M. 1991. Educational Administration. (3d ed.). Boston: Allyn and Bacon, Inc.

Howard, W. 1985. The Practice, of Public Relations. (2d ed.). London: William Heineman Ltd.

Jae-Hwa Shin and Robert L. Heath and Jaesub Lee. 1993. School of Communication, University of Houston.

Jeong-Nam Kim and Yunna Rhee. 2008. Division of Jouranlism and mass Communication. Hankuk University.

JordiXifra and David McKie, 2011. Department of Communication. PompeuFabra University.

Kindred, B.D. and D. Gallagher. 1976. The School and Community Relations. (3d ed.). Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice-Hall.

Lynham, S.A. (2000). Theory Building in Human Resource Development Profession. Human Resource Development Quarterly. 11(2): 159 – 178.

Loomis, C. P. 1960. Social System. New Jersey: Van Nostrand Princeton.

National Education Association, Research Division. 1968. “The School Public Relations Administrator”. NEA Research Bulletin.46 (January 1968): 29-31.

Newsom, D. and A. Scott. 1989. The Realities of Public Relations. Belmont Cliffs: Wadsworth Publishing.

Nneka Logan. 2009. Department of Communication, Georgia State University.

Norris, James S. 1984. Public Relations, New Jersey: Prentice – Hall, Inc.

Sears, J. B. 1950. The Nature of the Administrative Process. New York: McGraw-Hill.

Simon A Herbert. 1966. Public Administration. New York: Alfred A. Knopf.

SooYeon Hong and Sung-Un Yang. 2007. School of Public Communications. Syracuse University.

Sveiby, K.E. [Online]. (1997). What is knowledge management. Available from: http://www.eis.net.au/-karlerik/knowledge Management. thm.

Tim P. Vos. 2008. School of Journalism, University of Missouri.

Wiig, K. (1997). Knowledge management: Where Did it Come From and Where Will it Go. Expert Systems wit Applications, 13, 1, 1-14.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-03-12