การส่งเสริมคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจในสังกัด กองบังคับการตำรวจนครบาล 8

ผู้แต่ง

  • สมชัย ธรรมารัตน์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี

คำสำคัญ:

การส่งเสริม คุณภาพชีวิต

บทคัดย่อ

สารนิพนธ์เรื่อง “การส่งเสริมคุณภาพชีวิต การทำงานของข้าราชการตำรวจในสังกัดกอง บังคับการตำรวจนครบาล 8” มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับการส่งเสริมคุณภาพชีวิตการ ทำงานของข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบังคับการ ตำรวจนครบาล 8 และ 2) เพื่อเป็นแนวทางในการ พัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจ ในสังกัดกองบังคับการตำรวจนครบาล 8 เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม โดยใช้วิธีเก็บ รวบรวมขอ้ มูลจากกลุม่ ตัวอยา่ งจำนวน 400 ชุด โดย แบบสอบถามแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ส่วนที่ 1 ข้อมูล ส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนที่ 2 ความ คิดเห็นที่มีต่อการส่งเสริมคุณภาพชีวิตการทำงาน ของข้าราชการตำรวจ ซึ่งแบ่งออกเป็น 8 ด้าน คือ ด้านการได้รับค่าตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรม ด้านสภาพการทำงานที่มีความปลอดภัยและส่ง เสริมสุขภาพ ด้านความก้าวหน้าและความมั่นคงใน งาน ด้านโอกาสในการพัฒนาสมรรถภาพ ด้าน การบูรณาการทางสังคมหรือการทำงานร่วมกัน ด้าน สิทธิของพนักงาน ด้านความสมดุลระหว่างชีวิตงาน กับชีวิตด้านอื่น ด้านความเป็นประโยชน์ต่อสังคม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้การแจกแจงความถี่, ค่า ร้อยละ, ค่าเฉลี่ย (Mean), ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) 
                 ผลการวิจัยพบว่า ความคิดเห็นที่มีต่อการส่ง เสริมคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจ โดยภาพรวม จำแนกตามรายด้านอยู่ในระดับ ปานกลาง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.90 (S.D = .507) แสดงให้เห็นว่า การส่งเสริมคุณภาพชีวิตการทำงาน ของข้าราชการตำรวจมีคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับ ปานกลาง

References

เชาวพล ธนาภักดี. (2554) . คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการกรมทรัพยากรธรณี. : สารนิพนธ์ หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเกริก.

กัลยา ดิษเจริญ. (2538). คุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานระดับกลางในอุตสาหกรรมขนาด กลางเขตกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพมหานคร:วิทยานิพนธ์ปริญญาพัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ. บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

ธนพล สุคนธรัตน์. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตการทำงานกับผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาเอกชน.: วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยบูรพา.

ชัยวัฒน์ ปัญจมาพงษ์. (2532, 24-28). การปรับปรุงคุณภาพชีวิต. วารสารประชากรศึกษา.

อนุชิต รักษ์ความดี. (2554). คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจนครบาล : วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.

ชาญชัย อาจินสมาจาร. (2535). พฤติกรรมในองค์การ. กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพฯ.

พันทิพา จิตเข้มแข็ง. (2552). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรรกับคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการกรมชลประทาน. สารนิพนธ์ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก.

วิชิต สถิตย์วัฒนา. (2552). คุณภาพชีวิตในการทำงานของบุคลากรในสำนักงานเขตหนองจอก : สารนิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยปทุมธานี.

มานะ ธนาพงศ์พันธุ์. (2553). คุณภาพชีวิตการทำงานกับผลการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจในสถานีตำรวจภูธร สังกัดตำรวจภูธร ภาค 5 : วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

สายชล โนนกระโทก. (2554). การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการกรมที่ดิน : ปริญญานิพนธ์สังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ภาษาอังกฤษ

Aldag. R.J. & Stearns. (1987). T.M.Management. Chio: South – Western Publishing.

Cert. S.C. (1989). Principles of Modern Management. Boston: Allyn & Bacon.

Davis, L.E. (1977). Enhancing the Quality of Working Life : Developments in the Untied States. International Lab our Review, 116 (1), pp.53 – 56.

Delimitate. Y&Takezawa.S. (1987). Quality of Working Life in International Perspective. Geneva: International Lab Our Office.

Dubin, R. (1971). Handbook of Work: Organization And Society. Chicago: Rand McNally Collage Publishing Co.

UNESCO. (1987). Indication of Environment Quality of Life. Research and Papers in Social Science, 38 p.89.

Walton, R. (1974). Improving the Quality-of-Work-Life. Havard Business Review. 12, p.16B.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-03-12