กัลยาณมิตรกับแนวคิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
คำสำคัญ:
กัลยาณมิตร, การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิด เรื่องกัลยาณมิตรในบริบทของพระพุทธศาสนาที่จะ นำมาใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ ป่วยโรคเบาหวานให้ปฏิบัติตนได้ดีต่อเนื่อง ผลการ ศึกษาพบว่า กัลยาณมิตรในรูปแบบต่างๆ สามารถ ทำใหเ้ กิดการนำไปสูท่ างที่ดีขึ้นไดทั้งสิ้น กัลยาณมิตร ที่จะมีผลต่อการปรับปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของ ผู้ป่วยในบทความนี้ได้นั้น จึงอาจหมายถึงบุคคลใน ครอบครัวของผู้ป่วย เพื่อนผู้ป่วยด้วยกันในกลุ่ม ทีม การดูแลรักษาฝ่ายต่างๆ ตลอดจนพระพุทธเจ้าอัน เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวของจิตใจ องค์ประกอบสำคัญ ที่ทำให้สำเร็จสมบูรณ์ด้วยหลักการนำกัลยาณมิตร ที่จะนำมาใช้นี้ คือ ทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ 1.ด้านผู้ป่วย เอง ซึ่งอาจต้องมีโยนิโสมนสิการหรือความตระหนัก รู้หลังจากการมีกัลยาณมิตร 2.ด้านคุณสมบัติของ กัลยาณมิตรที่ดี และสิ่งแวดล้อมที่จะทำให้เกิดผลดี ต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่ดีต่อเนื่องต่อไป
References
มหามกุฏราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย พระอมอรรถกถาแปลชุด 91 เล่ม (เล่มที่ 11, 30, 32, 37, 40, 41, 45,59,61). (พิมพ์ครั้งที่ 8), กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๕๗. มหามกุฏราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกฉบับเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว, กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหา มกุฏราชวิทยาลัย,2549.
เอกสารทุติยภูมิ
กรมการแพทย์. เอกสารบันทึกข้อความ แนวทางการรักษาพยาบาลวิถีพุทธในโรงพยาบาล, 2556.
สํานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. รายงานการเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง พ.ศ.2555[วัน ที่สืบค้น 29 เมษายน 2557]; เข้าถึงได้จากhttp:// www.boe.moph.go.th/files/ report/20140109_40197220.pdf
นนนภัส พฤฒพงศ์ และคณะ. ผลของโปรแกรมการจัดการดูแลตนเองต่อความรู้ กิจกรรมการ ดูแลตนเองและค่า ฮีโมโกลบินที่มีค่านํ้าตาลเกาะในผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2.วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยภาคตะวันออกเฉียง เหนือ , 2555; ปีที่ 30(ฉบับที่ 2),เมษายน-มิถุนายน.
นุชรี อาบสุวรรณ และนิตยา พันธุเวทย์. ประเด็นสารรณรงค์วันเบาหวานโลกปี 2557 (ปีงบประมาณ 2558). สํานัก โรคไม่ติดต่อ[วันที่สืบค้น 4 พฤษภาคม 2558]; เข้าถึงได้จากthaincd.com /document /hot%20news/ประเด็นเบา หวาน58.doc
เนติมา คูนีย์ (บรรณาธิการ). การทบทวนวรรณกรรม : สถานการณ์ปัจจุบันและรูปแบบการบริการด้านโรค ไม่ติดต่อเรื้อรัง. สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการการแพทย์. พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพมหานคร: บริษัท อาร์ต ควอลิไฟท์ จํากัด, 2557.
ประกาย จิโรจน์กุล. แนวคิด ทฤษฎีการสร้างเสริมสุขภาพและการนํามาใช้ในโครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบัน พระบรมราชชนก. กรุงเทพฯ, tanapress, 2554.
ผ่องศรี ศรีมรกต,รศ.ดร.(บรรณาธิการ). การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพ เล่ม 2 ใน Medical-Surgical Nursing (Joyce M. Black & Jane Hokanson Hawks). พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : บริษัท ไอกรุ๊ป เพรส จํากัด, 2553.
พระธรรมวิสุทธิสุทธิกวี (พิจิตร ฐิติวณฺโณ).อุดมมงคลในพระพุทธศาสนา(ฉบับรวมเล่ม). กรุงเทพฯ : หจก.โรงพิมพ์ ชวนพิมพ์, 2558.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 13. กรุงเทพฯ : สํานัก ผลิธัมม์, 2558.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้งที่ 21. กรุงเทพฯ : สํานัก ผลิธัมม์, 2556.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย). กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์เพ็ท แอนด์โฮม จํากัด, 2556.
สงวน สุทธิเลิศอรุณ,รศ. พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: อักษรพิพัฒน์, 2546.
สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต.ทฤษฎีและเทคนิคการปรับพฤติกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 8, กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2556.
สํานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. รายงานการเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง พ.ศ.2555 [วัน ที่สืบค้น 29 เมษายน 2557]; เข้าถึงได้จาก http:// www.boe.moph.go.th/files/report/20140109_40197220.pdf
สุชีพ ปุญญานุภาพ. พระไตรปิฎกฉบับประชาชน.(พิมพ์ครั้งที่ 18). นครปฐม : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554.
อังศินันท์ อินทรกําแหง,ผศ.ดร. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3 self ด้วยหลัก PROMISE Model. กรุงเทพฯ : บริษัท สุขขุมวิทการพิมพ์ จํากัด, 2552.
Diabetes care.2014,June; 37(6): p.46-7.
World Health Organization. The Global Burden of Disease: 2004 update. Geneva: World Health Organization; 2008. in Journal of Health Systems Research, Vol.5, No.4, Oct.-Dec. 2011.
ข้อมูลจาก Website
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka2/v.php?B=19&A=679&Z=794#refer วันที่เข้าถึงข้อมูล 4 มีนาคม 2559.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความวิชาการและบทความวิจัยในวารสารฉบับนี้ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนเท่านั้น บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตศาส์น ถือเป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์