การบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพแนวพุทธ
บทคัดย่อ
บทความนี้ มุ่งนำเสนอเรื่องความสำคัญของ อาหารและการแก้ปัญหาจากการบริโภคอาหาร ของคนในปัจจุบัน หากผู้คนไม่ใส่ใจต่อกิจกรรม การกินซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นต้องทำในทุกวัน ปัญหา จากการกินอาหารก็สามารถนำไปสู่โรคภัยไข้เจ็บ การฝึกฝนเรื่องการกินอาหารเพื่อคุณค่าแท้ตาม แนวพุทธ ถือเป็นเป้าหมายสำคัญของทุกชีวิตที่ ควรตระหนักรู้และนำไปปฏิบัติ การดำเนินการ บริโภคอาหารเพื่อสุขภาพแนวพุทธใน 3 ด้าน อัน ได้แก่การรูจั้กเลือกอาหาร รู้วิธีการกินอาหาร และ รู้เป้า หมายของการกิน เมื่อผู้คนมีท่า ทีที่ถูกต้องต่อ การบริโภคอาหารแล้ว ย่อมมีผลที่ดีทั้งต่อสุขภาพ ทางร่างกายและยังมีผลเสริมสร้างจิตและปัญญา เพื่อพัฒนาชีวิตให้มีความหมายถึงประโยชน์สูงสุด ได้อีกต่อไป
References
จุฑา พีรพัชระ และจอมขวัญ สุวรรณรักษ์ . อาหารเพื่อสุขภาพจากสมุนไพร .รายงานการวิจัยสถาบัน เทคโนโลยี ราช มงคล วิทยาเขตโชติเวช, 2550.
เฉก ธนะสิริ. ชีวิตนี้มหัศจรรยยิ่งนัก.กรุงเทพมหานคร : บริษัทคราฟแมนเพรส จํากัด, 2541.
ธรรมปราโมทย์.สุขภาพสําคัญที่สุด : ชีวิตกับสุขภาพ. นครปฐม : สาละ, 2550.
ธรรมะปัญโญ และธีร์ ฉลาดแพทย์. กินอย่างพุทธะ สุขจริง ไม่แก่ ไม่ป่วย. กรุงเทพ : โรงพิมพ์มิตรสัมพันธ์กราฟฟิค. 2556.
นิธิยา และวิบูลย์ รัตนาปนนท์,ดร.. หลักโภชนศาสตร์.กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ์โอเดียนสโตร์.2556.
พระพุทธ โฆสะเถระ.คัมภีร์วิสุทธิมรรค.แปลและเรียบเรียงโดย สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร) พิมพ์ครั้ง ที่ 10. กรุงเทพ : ธนาเพลส. 2554,
พระพรหมคุณาภรณ์ ( ป.อ. ปยุตโต) . พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ, พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงดรณราชวิทยาลัย, 2546.
__________.พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท์,พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพมหานคร : บริษัทเอสอาร์พริ้นติ้งแมส โปรดักส์ จํากัด, 2551.
พระมหาเตชนวิทย์ ญาณสุโภ (สีทอง) . ศึกษาวิเคราะหวิกฤตการณ์อาหารโลกและการบริโภคอาหารตามหลักพุทธ ปรัชญาเถรวาท. วิทยานิพนธ์ศาสนศาสตรมหาบัญฑิต. มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย. 2554.
มหามกุฏราชวิทยาลัย,มูลนิธิ.พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย.กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2538.
วัดป่าพุทธพจน์หริภุญไชย. บทสวดมนต์. กรุงเทพ: นพบุรีการพิมพ์. 2548.
วิโรจ นาคชาตรี. อาหารและการบริโภคเพื่อสุขภาพตามทัศนะของพุทธปรัชญา. วารสารวิจัย รามคําแหง.ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2555).
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก. 45 พรรษาของพระพุทธเจ้า. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2542.
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. วินัยมุข เล่ม 2 (หลักสูตรนักธรรมชั้นโท). พิมพ์ครั้งที่ 31 กรุงเทพมหานคร : มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2543.
สาทิส อินทรคําแหง. ชีวิตเริ่มต้นเมื่อ 70.กรุงเทพ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนพับลิชชิ่ง, 2556.
สํานักงานสถิติแห่งชาติ.การสํารวจการบริโภคอาหารของประชากร พ.ศ. 2556. กรุงเทพมหานคร: เท็กซ์แอนด์เจอนัล พับลิเคชัน, 2557
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความวิชาการและบทความวิจัยในวารสารฉบับนี้ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนเท่านั้น บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตศาส์น ถือเป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์