การบริการสาธารณะตามแนวทางพระพุทธศาสนา
บทคัดย่อ
การบริการสาธารณะตามหลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา ถือว่า เป็นการให้บริการประชาชนที่ ดีขึ้น นับได้ว่าเป็นเรื่องหนึ่งที่องค์กรมหาชนแห่งหนึ่ง ของไทย หรือหน่วยงานในภาครัฐ ของระบบราชการ ไทยทั้งหลาย ย่อมจะต้องมีบางส่วนบางหน่วยงานที่ ยังไม่สามารถสนองความต้องการของประชาชนที่ไป ขอรับบริการที่จะทำให้เกิดความพึงพอใจได้สมบูรณ์ แบบ แต่หากได้มีการนำเอาหลักธรรมคำสอนของ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้ามาประยุกต์ใช้ได้ แก่ หลักสังคหวัตถุ 4 ในการให้บริการจะทำให้เกิด ประสิทธิภาพในการให้บริการเป็นที่พึงพอใจของ ประชาชนผูรั้บบริการ นอกจากนี้ ยังสามารถนำหลัก ธรรมคำสอนในส่วนอื่นๆ นำมาประกอบประยุกต์ใช้ เพื่อส่งเสริม สนับสนุน เพิ่มเติมอีกได้ด้วย จะทำให้ เกิดประสิทธิภาพในการใหบ้ ริการตอ่ ประชาชนผูรั้บ บริการสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
References
พระมหาบุญมี มาลาวชิโร, ธรรมใจ, กรุงเทพมหานคร : ดีเอ็มจี, 2551.
พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต และคณะ. โครงการประเมินความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการโรงเรียนในสังกัด กรุงเทพมหานคร. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก, 2551.
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลกรณราชวิทยาลัย, 2539.
วสันต์ ยอดศรี. การวัดความพึงพอใจของสมาชิกในการใช้บริการภายในศูนย์สุขภาพ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550.
สมิต สัชฌุกร. การต้อนรับและบริการที่เป็นเลิศ. กรุงเทพมหานคร : วิญญูชน, 2542.
สํานักนโยบายและแผน กรุงเทพมหานคร, ความพึงพอใจของประชาชนต่อระบบและ กระบวนการให้บริการของ กรุงเทพมหานคร : ศึกษากรณีสํานักงานเขต. รายงานฉบับสมบูรณ์โดยคณะพัฒนาสังคม ร่วมกับสมาคมพัฒนาสังคม : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริการศาสตร์, 2538.
อเนก สุวรรณบัณฑิต และภาสกร อดุลพัฒนกิจ. Service Psychology จิตวิทยาบริการ. กรุงเทพมหานคร : บริษัท เพรส แอนด์ ดีไซน์ จํากัด, 2548.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความวิชาการและบทความวิจัยในวารสารฉบับนี้ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนเท่านั้น บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตศาส์น ถือเป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์