“โนราบิก” การประยุกต์ศิลปะแดนใต้เพื่อสร้างเสริมสุขภาพ สำหรับผู้สูงอายุ
คำสำคัญ:
การออกกำลังกาย, ผู้สูงอายุ, มโนราห์, โนราบิกบทคัดย่อ
เมื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุประสิทธิภาพของระบบต่าง ๆ ในร่างกายก็จะทำงานลดลง โดยเฉพาะระบบหัวใจและหายใจ การออกกำลังกายจึงเป็นสิ่งจำเป็นต่อการสร้างเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ ”โนราบิก„ เป็นการออกกำลังกายที่ประยุกต์ท่ารำมโนราห์ ซึ่งเป็นศิลปะพื้นบ้านของภาคใต้ให้เป็นแอโรบิก และดัดแปลงท่าให้เหมาะสมกับสภาพร่างกายของผู้สูงอายุ เน้นการขยับร่างกายใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ เอ็น ข้อต่อที่ไม่ต้องใช้แรงกระแทก มีความต่อเนื่องของการใช้ท่ารำออกกำลังกาย ส่งผลดีต่อระบบการหายใจ และการไหลเวียนโลหิต
References
2.คณะอนุกรรมาธิการสงเสริมนวัตกรรมการแพทย์และสาธารณสุขในคณะกรรมาธิการสาธารณสุข. (2558). รายงานผลการศึกษาภาคที่ 1 เรื่อง แนวทางการส่งเสริมนวัตกรรมการออกกำลังการและสร้างเสริมสมรรถภาพผู้สูงอายุ. (อัดสำเนา)
3.กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2543). คู่มือการส่งเสริมการออกกำลังกายสำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข.กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
4.กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2543). คู่มือการส่งเสริมการออกกำลังกายสำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
5.อุษณีย์ แป้นถึง. (2560). ผลของโปรแกรมการออกกำลังกายในผู้สูงอายุตำบลบางพลีน้อย อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ. (วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสร้างเสริมสุขภาพ คณะสาธารณสุขศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา).
6.ธชา รุจเจริญ. (2560). ผลของโปรแกรมนันทนาการที่มีต่อคุณภาพชีวิตและสมรรถภาพทางกายของผู้สูงอายุภาคตะวันออกเฉียงเหนือประเทศไทย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี. 11(24), 56-64
7.ขวัญฤทัย เสมพูน. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างการวิ่งออกกำลังกายตอนเช้าและปัจจัยคัดสรรที่มีผลต่อการนอนหลับของผู้สูงอายุ. รายงานการวิจัย. มหาวิทยาลัยสวนสุนันทา. กรุงเทพมหานคร.
8.ปัทมาวดี สิงหจารุ. (2560). การออกกำลังกายด้วยลีลาศของผู้สูงอายุ. วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์(สทมส.). 21(2), 99-108.
9.มณีพรรณ์ เหล่าโพธิ์ศรี และคณะ. (2556). ผลของการรำไทยตอการทรงตัวในผู้สูงอายุชาวไทย. จุฬาลงกรณ์เวชสาร.57(3), 347 – 357.
10.ดารชา เทพสุริยานนท์ และคณะ. (2560). คุณภาพชีวิตของการออกกำลังกายด้วยท่าฤๅษีดัดตนในผู้สูงอายุบ้านทรายมูล จังหวัดยโสธร. วารสารหมอยาไทยวิจัย. 3(2), 3-5.
11.ลดาวัลย์ ชุติมากุล. (2561). ผลของรูปแบบการออกกำลังกายด้วยท่าฝึกโขนเบื้องต้นที่มีต่อสมรรถภาพในการปฏิบัติกิจกรรมการทรงตัวและคุณภาพชีวิตในผู้สูงอายุ. (วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตสาขาวิทยาศาสตร์การกีฬา, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).
12.เกศินี แซ่เลา. (2554). ผลของการออกกำลังกายด้วยการแกว่งแขนและการเดินที่มีผลต่อสุขสมรรถนะของผู้สูงอายุหญิง. (วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาตร์การกีฬา, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).
13.มนทกานต์ ยอดราช. (2556). ผลของโปรแกรมการให้ข้อมูลเตรียมความพร้อมร่วมกับการออกกำลังด้วยยางยืดต่อความสามารถในการทำหน้าที่ของร่างกายของผู้สูงอายุหลังผ่าตัดข้อเข่าเทียม. (วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์,จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).
14.สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์ และคณะ. (2550). “ดนตรีและนาฏศิลป์พื้นเมืองภาคใต้.” ในลักษณะไทย เล่ม 3 ศิลปะการแสดง. กรุงเทพฯ: ธนาคารกรุงเทพ.
15.พิทยา บุษรารัตน์. (2540). รายงานการวิจัยตำนานโนรา : ความสัมพันธ์ทางสังคมและวัฒนธรรมบริเวณลุ่มทะเลสาบสงขลา. สงขลา : สถาบันทักษิณคดีศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ.
16.วัฒนธรรมวิถีใต้กับการสร้างเสริมสุขภาพ. (2549). เอกสารประกอบการประชุมงานสุขภาพภาคใต้ 49 วาระสร้างสุขของคนใต้ ระหว่างวันที่ 30 มิถุนายน - 2 กรกฎาคม 2549. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. หน้า 3-4.
17.สุมลรัตน์ ขนอม. (2549). รายงานฉบับสมบูรณ์ ”โครงการเครือข่ายออกกำลังกายท่ามโนราห์ประยุกต์ จากท้องถิ่นสู่การยอมรับ”. ชมรมผู้สูงอายุท้ายสำเภา. นครศรีธรรมราช.
18.สุวิมล มณีโชติ และคณะ. (2557). การพัฒนารูปแบบการออกก?ำลังกายแบบ “ศิลปะตรัง”. การประชุมใหญ่และนำเสนอผลงานวิชาการระดับชาติ เรื่อง สหวิทยาการ : ความหลากหลายทางวัฒนธรรมสู่ประชาคมอาเซียนระหว่างวันที่ 17-18 กรกฎาคม 2557. หน้า 2300-2315.
19.อมรวรรณ ฤทธิเรือง. (2558). ผลของโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนและการสนับสนุนทางสังคมในการออกกำลังกายแบบโนราห์ประยุกต์ต่อระดับไกลโคไซเลทฮีโมโกลบินในผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2.(วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ, มหาวิทยาลัยบูรพา).
20.สุมลรัตน์ ขนอม, (บรรณาธิการ). (2550). ผลการดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุตำบลท้ายสำเภา อำเภอพระพรหมจังหวัดนครศรีธรรมราช. ม.ป.ท.
21.อริสรา สุขวัจนี (2555). การออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุ. วารสารศรีนครินทร์ทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์). 4(8), 216 – 223.
22.Giam,C.K., & Teh,K.C.(1988). Sport medicine,exercise and fitness. Singapore: PG Publishing.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความวิชาการและบทความวิจัยในวารสารฉบับนี้ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนเท่านั้น บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตศาส์น ถือเป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์