การเรียนรู้เชิงรุก: รูปแบบการบูรณาการเชิงสร้างสรรค์ ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการเรียนการสอนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ศตวรรษที่ ๒๑

ผู้แต่ง

  • ยุพาพักตร์ สะเดา
  • ดร.ระพีพันธ์ ศิริสัมพันธ์
  • รองศาสตราจารย์ ดร.ทรงคุณ จันทจร

คำสำคัญ:

การเรียนรู้เชิงรุก รูปแบบการบูรณาการเชิงสร้างสรรค์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น การจัดการเรียนการสอน การเรียนรู้ศตวรรษที่ ๒๑

บทคัดย่อ

บทความเรื่อง “การเรียนรู้เชิงรุก: รูปแบบการบูรณาการเชิงสร้างสรรค์ ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการเรียนการสอนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ศตวรรษที่ ๒๑” เพื่อศึกษากระบวนการเรียนรู้เชิงรุกแบบบูรณาการสร้างสรรค์กับภูมปัญญาท้องถิ่นกับการจัดการระบบการเรียนการแบบ บูรณาการสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ ศตวรรษที่ ๒๑ และพบว่า การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุกเป็นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ มีองค์ประกอบที่สำคัญ ๕ องค์ประกอบ ดังนี้ 

๑. การสร้างสภาพแวดล้อมและกระตุ้นความกระหายใคร่รู้ในปัญหา 

๒. ให้ผู้เรียนลงมือสร้างความเข้าใจและวางแผนในการเรียนรู้ 

๓. ลงข"อสรุปผลการเรียนรู้และสร้างองค์ความรู้ 

๔. นำผลการเรียนรู้เข้าสู่กระบวนการขยายและแปลงความรู้ลงสู่นวัตกรรม 

๕. ประเมินผลการเรียนรู้ 

การศึกษาไทยในยุคประเทศไทย ๔.๐ (Thailand 4.0) เป็นเป้าหมายของการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ที่ครอบคลุมวิธี วิธีการจัดการเรียนรู้หลากหลายวิธี เช่น

วิธีที่ ๑: วิธีการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน (Activity-Based Learning)  

วิธีที่ ๒: วิธีการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ (Experiential Learning)  

วิธีที่ ๓: วิธีการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning)

วิธีที่ ๔: วิธีการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning) 

วิธีที่ ๕: วิธีการเรียนรู้ที่เน้นทักษะกระบวนการคิด (Thinking Based Learning)

วิธีที่ ๖: วิธีการเรียนรู้การบริการ (Service Learning)

วิธีที่ ๗: วิธีการเรียนรู้จากการสืบค้น (Inquiry-Based Learning)  

วิธีที่ ๘: วิธีการเรียนรู้ด้วยการค้นพบ (Discovery Learning) 

References

Aree Panamanee, Creative Psychology of Teaching and Learning, (Bangkok: yimi Educate, 2003), Page 176.
Aporn JaiThieng. The Teaching Principle. (5th edition). Bangkok: Odean Store, 2010.
Kittiphong Dararak. Higher Education Method. Bangkok: Charan Sanitwongphim, 2007.
Heather Fry. A Handbook for Teaching & Learning in Higher Education. London: Routledge, 2007.
Sasithorn Srivang Learning Management. Bangkok: Odean Store, 2013.
Sittiphong Suprom, "The Development of Proactive Learning Ability in the 21st Century for Lower Secondary Students", Ubon Ratchathani Research and Evaluation Journal, Year 7, Issue 2, (July - December, 2018) : 50.
Office of the National Education Commission, Educational Management Guidelines under the National Education Act 1999, Bangkok: Pimdee Company Limited, 1999.
Panith, W., Criticism of the Way to Learn to be a 21st Century Disciple, (Bangkok: Sodsri-Saridwongso Foundation, 2012), p. 64.
Porntadavit, N., Active Learning Management, (Bangkok: Tripping Education, 2016), p. 17-18.
Piyawan Prasantisuk, Integrated Learning Techniques, [Online]: <https://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID= 27229 &Key= news research>, (Retrieved August 26, 2562).
Sutthiwong Phongphaibun, (2012). The role of educational institutions and Thai wisdom, (Bangkok: Third Wave Education, 2012), Page 2.
Sonthaya Polsri, Network of Learning in Community Development, (2nd edition), (Bangkok: Odean Store, 2007), Page 30.
Phrakruvimoldhamawut (Phangkrathok). "temple hall: Applying Folk Wisdom in Conservation and Regeneration of Buddhism Sculpture in Nakhon Ratchasima". Ph.D. Thesis Department of Culture Science. Graduate School: Mahasarakham University, 2012.
Paitoon Sinlarat, textbooks and academic articles: Concepts and writing guidelines for quality, (Bangkok: Chulalongkorn University Press, 2011), Page 89.Greg Light and Roy Cox. Learning and Higher Education: The Reflective Professional. London: Sage, 2001.
Panith, W. Criticism of the Way to Learn to be a 21st Century Disciple. Bangkok: Sodsri-Saridwongso Foundation, 2012.
Porntadavit, N. Active Learning Management. Bangkok: Tripping Education, 2016.
Wannee Limaksorn. Educational Psychology. (4th edition), Songkhla: Namsilp Advertising Company Limited, 2008.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-05-29