การศึกษาเปรียบเทียบการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) กับพระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม)
บทคัดย่อ
บทความวิจัยเชิงเอกสารมีวัตถุประสงค์ 4 ประการ คือ 1) การเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระพุทธเจ้า 2) การเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) 3) การเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระธรรมสิงหบุรา จารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) 4) เปรียบเทียบการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) กับพระธรรม สิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) วิธีการดําเนินวิจัย เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ของพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) กับพระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) โดยรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร ผลการวิจัยพบว่า การเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระพุทธเจ้าเป็นหลักคําสอนที่มีอยู่จริงในปัจจุบัน ยังยึด เหนี่ยวจิตใจของประชาชนให้หลุดพ้นจากทุกข์ ได้นําแนวทางการเผยแผ่ของพระพุทธเจ้าไปใช้อย่างหลากหลายทั้งใน อดีตและปัจจุบัน ส่วนการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ใช้หลักการศึกษาของ ธรรมกาย เพื่อให้พ้นทุกข์ ตลอดชีวิตการเผยแผ่ของท่านได้ปฏิบัติ ศึกษาตามทางสายกลาง บุคคลทั่วไป จึงศรัทธา ในชื่อเสียงและกล่าวถึงความศักดิ์ ในด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) จะเน้นเรื่องกฎแห่งกรรม ธรรมปฏิบัติ ประสบการณ์ตรงจากตัวท่านเองและคนอื่น หลักความดีความชั่วและหลักธรรม ของพระพุทธศาสนา การศึกษาเปรียบเทียบการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) กับ พระ ธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) พบว่าพระทั้งสองมีความสัมพันธ์กันในฐานะศิษย์และอาจารย์ ทําให้พระทั้งสอง เป็นนักเผยแผ่มีชื่อเสียงทั้งอดีตและปัจจุบันที่ประสบความสําเร็จในการเผยแผ่ อีกทั้งเป็นพระนักปฏิบัติธรรมมีผลงานเผย แผ่ที่ประจักษ์ ต่อยอดคําสอนที่สืบทอดพระพุทธศาสนาตามแนวทางของพระทั้งสอง สามารถหาฟังได้ในปัจจุบันไม่เลือน หายไป และมีลักษณะคําสอนที่มีความเป็นตัวเองสูง คําสําคัญ: การเผยแผ่, พระพุทธศาสนา, พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร ), พระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม)
References
ปรมะ สตะเวทิน. 2528. หลักนิเทศศาสตร์. กรุงเทพฯ: รุ่งเรืองสาส์นการพิมพ์.
พระครูนิสัยปริยัติกิจ (เฉลิม แขนอก). 2544 . การศึกษาเปรียบเทียบแนวการปฏิบัติกรรมฐานของ หลวงพ่อเทียน จิตตฺสุโกและหลวงจรัญ ฐิตธมฺโม.วิทยานิพนธ์พุทธศาสตร มหาบัณฑิต. สาขาพุทธศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระครูอาทรปริยัติสุธี (ทุมสิงห์). 2552. ศึกษาการเผยแผ่พุทธธรรมของพระราชญาณวิธิฐ (เฉลิมชัย ชยมฺคโล). วิทยานิพนธ์พุทธศาสตร์มหาบัณฑิต.สาขาพุทธศาสตร์, มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระณรงค์ กิตฺติธโร. 2549. การศึกษาเปรียบเทียบปรัชญาการศึกษาของพุทธทาสภิกขุและพรหม คุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุต.โต).วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต.สาขา พุทธศาสตร์,มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช). 2545. ราชบัณฑิต คําวัด 2. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ์เลี่ยง เชียง. พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). 2532 . เทคนิคการสอนของพระพุทธเจ้า. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์ เบิก ม่าน. . 2541. พุทธวิธีในการสอน. กรุงเทพฯ : มูลนิธิพุทธธรรม . 2544. พุทธธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์บริษัท สหธรรมิกจํากัด. พระภาวนาวิสุทธิคุณ (จรัญ ฐิตธมฺโม). 2533. คู่มือวิปสสนาจารย์. กรุงเทพฯ: หอรัตนชัยการ พิมพ์. . 2530. กฎแห่งกรรม ธรรมปฏิบัติ เล่ม 1 . กรุงเทพฯ: หอรัตนชัยการพิมพ์. . 2530. กฎแห่งกรรม ธรรมปฏิบัติ เล่ม 2 . กรุงเทพฯ: หอรัตนชัยการพิมพ์ . . 2531. กฎแห่งกรรม ธรรมปฏิบัติ เล่ม 3. ,กรุงเทพฯ: หอรัตนชัยการพิมพ์. พระมหากฤษฎา นันทเพชร. 2550. การเผยแผ่ศาสนธรรม : กรณีศึกษา 9 วัด. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ อักษรศาสตร์.
พระมหาแผน ธมฺมเมธี (ศรี อภัย) . 2549. ศึกษารูปแบบและวิธีการเผยแผ่พุทธธรรมของพันเอกปิ่น มุทุกันต์.วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต.สาขาพุทธศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระมหารุ่งเพชร ชวนปญฺโญ (พัดทาป) . 2548. ศึกษารูปแบบและวิธีการเผยแผ่ของ พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช).วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาพุทธศาสตร์ , มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระมหาสุชญา โรจนญาโณ. 2540. การศึกษาบทบาทพระโมคัลลานเถระ.วิทยานิพนธ์พุทธศาสตร์ มหาบัณฑิต.สาขาพุทธศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระมหาสัญญา ปญฺญาวิจิตฺโต. 2543. ศึกษารูปแบบและแนวทางการเผยแผ่พุทธธรรมของ พระครูพิศาลธรรมโกศล. วิทยานิพนธ์ปริญญาธรรมนิเทศมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระราชธรรมนิเทศ (ระแบบ ฐิตญาโณ). 2540. พุทธวิธีเผยแผ่พระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย. พระวุฒิกรณ์ วุฑฒิกรโณ. 2543. ศึกษาเทคนิคและวิธีการเผยแผ่พุทธธรรมของพระราชวรมุนี (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต.สาขาพุทธศาสตร์ , มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย. พิสิฐ เจริญสุข. 2539. คู่มือการเผยแผ่พระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพสํานักงาน พระพุทธศาสนาแห่งชาติ. ราชบัณฑิตยสถาน. 2525. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน 2525. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์. . 2556. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน 2556. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์บริษัทศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์จํากัด. สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวฑฺฒนมหาเถระ). 2541. หลักการศึกษาของพระพุทธเจ้า. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย. เสฐียรพงษ์ วรรณปก. 2540. พุทธวิธีการสอนจากพระไตรปิฎก. กรุงเทพฯ: บริษัท เพชรรุ่งการพิมพ์ จํากัด. สุทัสสา อ่อนค่อม. 2554. ธรรมนิยาย ชุดสัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 21.
กรุงเทพฯ: หอรัตนชัยการพิมพ์. สิทธิ์ บุตรอินทร์. 2533. พระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช. สมาน งามสนิท. 2541. เอกสารประกอบการบรรยายวิชาธรรมนิเทศ. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราช. สายธาร ศรัทธาธรรม. 2549. หลวงพ่อสด วัดปากน้ํา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์บริษัท ออฟเซ็ทครีเอชั่นจํากัด. หลวงพ่อวัดปากน้ํา . 2552 . หลักการสอนสมถวิปัสสนากัมมัฏฐานของหลวงพ่อวัดปากน้ําภาษี เจริญ. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ์เอ็มไอเอสจํากัด.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความวิชาการและบทความวิจัยในวารสารฉบับนี้ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนเท่านั้น บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตศาส์น ถือเป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์