การบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อองค์การแห่งการเรียนรู้ ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 9
การบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อองค์การแห่งการเรียนรู้ ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 9
คำสำคัญ:
การบริหารสถานศึกษา ;, องค์การแห่งการเรียนรู้ ;, สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 9บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา 2) ระดับองค์การแห่งการเรียนรู้ และ 3) การบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อองค์การแห่งการเรียนรู้ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 9 กลุ่มตัวอย่าง คือ สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 9 จำนวน 56 แห่ง ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ บุคลากรทางการศึกษาจำนวน 336 คนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามสถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบสมมติฐานด้วยการวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการวิจัยพบว่า
- ระดับการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 9
โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก
- ระดับองค์การแห่งการเรียนรู้ ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 9 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก
- การบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลต่อองค์การแห่งการเรียนรู้ในสถานศึกษา
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 9 คือ การบังคับบัญชา การวางแผนการควบคุมงาน การจัดองค์กร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สามารถทำนายการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ได้ร้อยละ77.6 และเขียนในรูปของสมการทำนายคะแนนมาตรฐานได้ ดังนี้
y=.306(Zx3)+ .231(Zx1)+.264(Zx5)+.216(Zx2)
References
1. ภาษาไทย
จอมพงศ์ มงคลวนิช. (2556). การบริหารองค์การและบุคลากรทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2.กรุงเทพฯ : วี.พริ้นท์.
ทิพยรัตน์ วงศบูรณะ. (2556). “ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนตามความคิดเห็นของข้าราชการครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่” วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์_2556 ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2556),หน้า 139-154ISSN 2229-0913.
นพพงษ์ บุญจิตราดุลย์. (2557). หลักการและทฤษฎีการบริหารการศึกษา. นนทบุรี: ตีรณสาร.
พนานันท์ โกศินานนท์.(2551).แนวทางการพัฒนาวิทยาลัยราชพฤกษ์สู่องค์กรแห่งการเรียนรู้(รายงานการ
วิจัย)นนทบุรี.วิทยาลัยราชพฤกษ์.
ภารดี อนันต์นาวี. (2552). หลักการ แนวคิด ทฤษฏีทางการบริหารการศึกษา ฉบับปรับปรุง. ชลบุรี :
มนตรี.
มนตรา ผลศรัทธาและสุเทพ ลิ่มอรุณ.(2557). พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการ
มีส่วนร่วมของชุมชน ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 2 . มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.
ราชกิจจานุเบกษา. (2546). พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546. (120) ตอนที่100 ก.
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์ และ อัจฉรา ชำนิประศาสน์ (2545) .ระเบียบวิธีการวิจัย.กรุงเทพมหานคร.
พิมพ์ดีการพิมพ์
ศิริชัย กาญจนวาสี. (2556). มโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนของการวัดและประเมินผลทางการศึกษา. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
ศิริพงษ์ เศาภายน. (2552). หลักการบริหารการศึกษา : ทฤษฎีและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : บุ๊คพอยท์.
สมคิด บางโม. (2552). องค์การและการจัดการ. กรุงเทพฯ :จูนพับลิชชิ่ง.
สมิต สัชฌุกร.(2550). ทักษะการประสานงาน (Online).
http://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?bookID=394&read=true&count,
16 มิถุนายน 2560
2) วิทยานิพนธ์/สารนิพนธ์/งานวิจัย
รัชฎา ประสิทธิ์พรชัย.(2553).ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค(กรณีศึกษา:
สำนักงานใหญ่).วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ , บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธุรกิจ
บัณฑิต.
วราภรณ์ รุจิระวาณิชย์. (2558).การบริหารการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยมหิดล.วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการการบริหารการศึกษา,มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.
อุดม ธาระณะ. (2553). บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญในสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษากําแพงเพชรเขต 2. วิทยานิพนธ์ ค.ม. (สาขาการบริหารการศึกษา). กําแพงเพชร : บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันราชภัฏกําแพงเพชร.
2. ภาษาอังกฤษ
Gulick, L. and L. Urwick. (1963). Papers on the Sciences of Administration. Columbia :
Institute of Public Administration Columbia University.
Likert, Rensis. (1967). The Method of Constructing and Attitude Scale. In Reading in Fishbeic,
M (Ed.), Attitude Theory and Measurement (pp. 90-95). New York: Wiley & Son.
Senge, P. M. (1990). The fifth discipline :The art and practice of the learning organization.
London : Century Press.
Stufflebeam, Daniel L. (1971). The Relevance of the CIPP Evaluation Model for
Educational Accountability. Atlantic City, N.J.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความวิชาการและบทความวิจัยในวารสารฉบับนี้ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนเท่านั้น บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตศาส์น ถือเป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์