การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม : โรงเรียนวัดหนองตะครอง

ผู้แต่ง

  • ธัญลักษณ์ อัยวรรณ บัณฑิตวิทยาลัย มหากุฏราชวิทยาลัย
  • สถาพร ขันโต
  • อิศเรศ พิพัฒน์มงคลพร

คำสำคัญ:

การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ, การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม, โรงเรียนวัดหนองตะครอง

บทคัดย่อ

ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการ ของการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 2) เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญของโรงเรียนวัดหนองตะครองด้วยกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ผู้ร่วมวิจัย ได้แก่ คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา ที่ปรึกษาคณะกรรมการสถานศึกษา เครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 52 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีการศึกษาวิเคราะห์เอกสาร การใช้แบบสำรวจสภาพการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยการสังเกตและการสัมภาษณ์ ประเด็นการสนทนากลุ่ม ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กิตติภูมิ มังสุรีย์ (2548). ศึกษาการบริหารหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญของโรงเรียน ประถมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพังงา. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหา
บัณฑิต, สาขาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต.
คณะวิทยาการมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. (2556). “การเรียนรู้ที่ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางในทักษะ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21”. สรุปแนวทางการปฏิบัติที่ดี (Best Practice) โครงการ
อบรมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วยเทคนิคการสอนและจิตวิทยาการสอน.
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2559). 80 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ. พี บาลานซ์ดีไซด์แอนปริ้นติ้ง.
ทิศนา แขมมณี. (2557). ศาสตร์การสอนองค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มี
ประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 18. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิชัย วงษ์ใหญ่และมารุต พัฒนผล. (2553). หลักสูตรแกนกลางสู่หลักสูตรสถานศึกษา : กระบวน
ทัศน์ใหม่การพัฒนา. กรุงเทพฯ : จรัญสนิทวงศ์การพิมพ์.
วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์และกมลรัตน์ ฉิมพาลี. (2559). ห้องเรียนแห่งอนาคต เปลี่ยนครูให้เป็นโค้ช. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
สถาพร พฤฑฒิกุล. (2555). “คุณภาพผู้เรียนเกิดจากกระบวนการเรียนรู้ QUALITY STUDENTS DERIVED FROM ACTIVE LEARNING PROCESS” วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 เดือนเมษายน –กันยายน.
สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ (2555). สร้าง “ทักษะ” ให้ผู้เรียนพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21. ปีที่ 4 ฉบับที่ 11
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
แก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553. กรุงเทพฯ :
พริกหวาน กราฟฟิค.
สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน). (2555). รายงานการ ประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.2554-2558) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
สำนักงานวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2553). แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : พิมพ์ครั้งที่ 2.
ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
อภิสิทธิ์ บุญยา. (2553). การมีส่วนร่วมของชุมชนในโรงเรียนดีเด่นขนาดเล็ก : การศึกษาเพื่อสร้างทฤษฎีฐานราก. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
Cher, Hendricks. (2009). Improving Schools Through Action Research : A
Comprehensive Guide for Education. University of West Georgia. Second
Edition : Pearson Education, Inc.
Cohen, J.M. and Uphoff. N. Rural. (1977). Development Participation : Concept and
Measure for Project Design Implementation and Evaluation. New York :
Cornell University
Peter, Reason and Hilary Bradbury. (2008). The SAGE Handbook of Action Research
: Participative Inquiry and practice. Second Edition : Sage Publications.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-24