พฤติกรรมการให้ทานของชาวพุทธในปัจจุบัน

ผู้แต่ง

  • พระชานนท์ อภิปุญฺโญ (ภูดี) Mahamakut buddhist university
  • บุญร่วม คำเมืองแสน

คำสำคัญ:

พฤติกรรม, การให้ทาน

บทคัดย่อ

วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาเรื่องทานในทัศนะของพระพุทธศาสนา2) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการให้ทานของชาวพุทธในปัจจุบัน3)เพื่อศึกษาวิเคราะห์คุณค่าพฤติกรรมการให้ทานของชาวพุทธในปัจจุบัน วิทยานิพนธ์ฉบับนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา หนังสือและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเรื่องการให้ทาน

References

กรมการศาสนา. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับหลวง. กรุงเทพมหานคร: พิมพ์เนื่องในโอกาสสมโภช กรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี, 2525.

กันยา สุวรรณแสง. จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพมหานคร: อักษรพิทยา. 2538.
ขุนศึกษาการพิศิษฎ์ (พิศิษฎ์ หะวานนท์).ความรู้เกี่ยวกับพุทธศาสนาและประเพณีบางอย่าง. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ กรมศิลปากร,2515.
เฉลิมพล ตันสกุล. พฤติกรรมศาสตร์สาธารณสุข. กรุงเทพมหานคร: สหประชาพาณิชย์. 2543.
ชัยยงค์ พรหมวงค์. เอกสารสอนชุดวิชาการพัฒนาพฤติกรรมเด็ก. นนทบุรี: สาขาวิชาศึกษาสาตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2534.
ดนัย ไชยโยชา. ลัทธิศาสนาและระบบความเชื่อกับประเพณีนิยมในท้องถิ่น. กรุงเทพมหานคร: โอ เดียนสโตร์, 2538,
ประสาท อิศรปรีชา. จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 2539.
ประยุทธ์ หลงสมบุญ. พจนานุกรมมคธ-ไทย. กรุงเทพมหานคร: บริษัทธรรมสาร จํากัด, 2546.
ปิ่น มุทุกันต์, พ.อ.. ประมวลศัพท์ศาสนา. กรุงเทพมหานคร: อมรการพิมพ์, 2527.
พระชาย วรธมฺโม. ฉลาดทำบุญ. กรุงเทพมหานคร: เคล็ดไทย, 2549.
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดี สุรเตโช). พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสนา ชุด คำวัด. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ เลี่ยงเชียง, 2556.
พระธรรมวิสุทธิกวี(พิจิตร ฐิตวัณโณ). กฎแห่งทาน : ทำหนึ่งได้ร้อย ทำร้อยได้ล้าน. นนทบุรี: กรีน- ปัญญาญาณ, (ม.ป.ป.),
______. อภัยทาน. (กรุงเทพมหานคร : ธรรมสภา, (ม.ป.ป.),
พระสิริมังคลาจารย์. มังคลัตถทีปนี แปล เล่ม 3. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ มหามกุฏราชวทิยาลัย , 2537.
______. มงฺคลตฺถทีปนี ทุติโย ภาโค. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2536.
พุทธทาสภิกขุ. การทำทาน. กรุงเทพมหานคร: บริษัท พี.เอ.ลีฟวิ่ง จำกัด, 2540.
มหามกุฏราชวิทยาลัย. มงฺคลตฺถทีปนิยา ทุติโย ภาโค. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ มหามกุฏราช วิทยาลัย.2508.
______. อธิบายบาลีไวยากรณ์ (นามกิตก์และกิริยากิตก์). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฎ ราชวิทยาลัย, 2538.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพมหานคร: นานมีบุ๊คส์ พับลิเคชั่นส์จํากัด,2546.
ลักขณา สรีวัฒน์.จิตวิทยาในชีวิตประจำวัน.กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์. 2544.
วิรัช ลภิรัตนกุล.การประชาสัมพันธ์ ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2540.
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส.บาลีไวยากรณ์วจีวิภาค ภาคที่ 2 อาขยาต และกิตก์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2537.
______. สารานุกรมพระพุทธศาสนา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2538.
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก. วิธีสร้างบุญบารมี. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์สํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ, 2556.
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสนา ฉบับประมวลศัพท์. กรุงเทพมหานคร: บริษัท เอส. อาร์. พริ้นติ้ง แมส โปรดักส์ จำกัด, 2551.
______. พจนานุกรมพุทธศาสนา ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพมหานคร: บริษัท เอส. อาร์. พริ้น ติ้ง แมส โปรดักส์ จำกัด, 2551.
สุชีพ บุญญานุภาพ. พระไตรปิฎกสำหรับประชาชน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามงกุฎราช วิทยาลัย, 2541.
สถาบันบันลือธรรม. การทำทาน : ธรรมทาน-การถวายสังฆทาน-การให้อภัยทาน. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา, (ม.ป.ป.),
สุชา จันทร์เอม. จิตวิทยาวัยรุ่น.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช. 2529.
สมทรง ปุญญฤทธิ์. วิธีทำบุญฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ. 2544.
อุทัย หิรัญโต. สารานุกรมศัพท์สังคมวิทยา-มานุษยวิทยา. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์.2526.

2. ดุษฎีนิพนธ์/วิทยานิพนธ์/สารนิพนธ์:
ชนลักษณ์ ชัยศรีลักษณ์. “เศรษฐศาสตร์เชิงทดลองว่าด้วยประเภทของแรงจูงใจต่อการบริจาค”. วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558.
พระวิทูรย์ ฐานงฺกโร(เจือจันทร์). “ศึกษาการอบรมเลี้ยงดูของชาวพุทธที่มีต่อความเชื่อในการให้ทาน และพฤติกรรมการช่วยเหลือต่อผู้อื่น กรณีศึกษาอุบาสก อุบาสิกาที่มาปฏิบัติธรรมในวัดราช โอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิต วิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2554.
พระครูโพธิชยธรรม (บุปผาสังข์). “การศึกษาเปรียบเทียบการให้ทานสมัยพุทธกาลกับการให้ทานของ ชาวตำบลนาเลิง อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2555.
นายวีระพงษ์ แสงทอง. “ศึกษาการบริจาคทานของพุทธศาสนิกชน กรณีศึกษา ตำบลไร่น้อย อำเภอ เมือง จังหวัดอุบลราชธานี”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2556.
นางสาวลักษณา ทองทศ. “ศึกษาทัศนคติเรื่องการให้ทานของชาวบ้านดอนกลาง ตำบลธาตุ อำเภอวา รินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานีกับหลักการให้ทานในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย, 2556.
จันทิมา พูลทรัพย์. “ปัจจัยการตัดสินใจในการทำบุญของพุทธศาสนิกชน กรณีศึกษาวัดจำปา เขตตลิ่ง ชัน กรุงเทพมหานคร”. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, 2559.
นฤชิต จุสะปาโล. “การศึกษาเปรียบเทียบเรื่องทานในพระพุทธศาสนากับเศาะกะดะ-เกะฮ์ ใน ศาสนา อิสลาม”. ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหิดล, 2543.
ผศ. ดร. อมรรัตน์ อภินันท์มหกุล. “สังคมไทยกับการบริจาคและการประกอบกิจกรรมทางศาสนา”. วรสารเศรษฐศาสตร์บริทรรศน์. รายงานวิจัย. คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ: สถาบันบัณฑิตพัฒ นบริหารศาสตร์, 2558.
พระครูภาวนาวรานุรักษ์ (วิทยา กลฺยาณธมฺโม). “รูปแบบการให้ทานที่เกื้อกูลต่อการบรรลุธรรมใน สังคมไทยปัจจุบัน”. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร. รายงานวิจัย. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2560.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-25