โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา: สภาพปัจจุบัน และปัญหากระบวนการบริหารจัดการ
คำสำคัญ:
โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา, สภาพปัจจุบันและปัญหา, กระบวนการบริหารจัดการบทคัดย่อ
บทความเรื่อง “โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา: สภาพปัจจุบันและปัญหากระบวนการบริหารจัดการ” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา “สภาพปัจจุบันและปัญหากระบวนการบริหารจัดการโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญ” พบว่า “การสร้างวัฒนธรรมองค์กรให้เป็นระบบ สามารถทำให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเกิดความอบอุ่นและมีกำลังใจทุ่มเททำงานเพื่อความก้าวหน้าขององค์กรได้อ่าย่างยั่งยืน ประกอบด้วยรูปแบบเชิงกลยุทธ์ 4 กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่หนึ่ง คือ กลยุทธ์การสร้างความเติบโต โดยใช้งบประมาณเป็นตัวช่วยและสร้างแรงจูงใจ กลยุทธ์ที่สอง คือ กลยุทธ์ความถนัด เป็นกลยุทธ์ที่เอื้อแต่อ่อน โดยเลือกดำเนินงานเฉพาะที่มีความรู้ความชำนาญและใช้งบประมาณไม่มาก กลยุทธ์ที่สาม คือ กลยุทธ์การรักษาเสถียรภาพ เป็นกลยุทธ์ที่ไม่เอื้อแต่แข็ง โดยเลือกดำเนินงานที่กำลังดำเนินอยู่ไม่ขยายไปดำเนินงานอื่น และกลยุทธ์ที่สี่ คือ กลยุทธ์การตัดทอน เป็นกลยุทธ์ที่ไม่เอื้อและอ่อน โดยการทบทวนภารกิจในส่วนที่ทำประโยชน์ได้ หรือการถ่ายโอนให้ผู้อื่นดำเนินการแทนได้”
References
กองพุทธศาสนศึกษาสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. (2552). แผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการการพัฒนาการศึกษาโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา (พุทธศักราช 2553 - 2562). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.
ปรารถนา กล้าผจญ, สมศักดิ์ คงเที่ยง. (2544). หลักและทฤษฎีการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ประวิต เอราวรรณ์. (2548). “การพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างพลังอำนาจครูในโรงเรียน: กรณีศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม”. ปริญญานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
ฝ่ายการศึกษาพระปริยัติธรรม กองพุทธศาสนศึกษา, สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. (2553). แผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการการศึกษา โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา (พุทธศักราช 2553 - 2562). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.
พระมหาถาวร ขนฺติธมฺโม. (2549). "บทบาทของพระสงฆ์และวัดต่อการส่งเสริมโรงเรียนวิถีพุทธเพื่อการพัฒนาและแก้ปัญหา". รางานการวิจัยฉบับสมบูรณ์. สถาบันวิจัยญาณสังวร: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.
พระมหาธนา ตนฺติปาโล (แสนณรงค์). (2562). “รูปแบบการบริหารจัดการเชิงพุทธของสำนักงาน
ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในเขตภาคเหนือตอนล่าง”. ดุษฎีนิ
พนธปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต (สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา). บัณฑิต
วิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระมหาสมบัติ ธนปญฺโ (ฉลอง), (2557). “ยุทธศาสตร์เชิงพุทธในการบริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา”. วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พรชุลี อาชวอำรุง. (2538). “รูปแบบการศึกษาไทยที่สมดุลกับบริบทของสังคมไทยในศตวรรษที่ 21”. รายงานการวิจัย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. (2560). กลุ่มการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา. ข้อมูลการจัดการศึกษาโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ปีการศึกษา 2560 (ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.
สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน). (2556). รายงานการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (รอบสาม), (กรุงเทพฯ: สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน).
อนุชิต วรรณสุทธิ์. (2548). “การศึกษาคุณลักษณะผู้บริหารสถานศึกษามืออาชีพในอนาคต”. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. บัณฑิตวิทยาลัย: สถาบันราชภัฏบุรีรัมย์.
Bibliography
Ashworth, Allan and Harvey, Roger C. (1994). “Assessing Quality in Further and Higher Education”. London: Jessica Kingsley Publishers.
Anuchit Wannasut. (2005). “A Study of the Characteristics of Professional Educational Institution Administrators in the Future”. A complete research report. Graduate School: Buriram Rajabhat Institute.
Department of Academic Affairs, Ministry of Education. (1992). Creativity: Principles, theory, teaching, evaluation and evaluation. 2nd edition. Bangkok: Teachers Council Ladprao Printing House.
Education Department Division of Buddhist Studies, National Buddhism Office. (2010).
Educational Strategic Plan and Action Plan Phrapariyattidhamma
School Department of General Education (2010 - 2019). Bangkok: Printing
House, National Buddhism Office.
National Buddhism Office. (2017). Phrariyattidhamma Study Group Department of
General Education. Information on educational management at
Phrapariyattidhamma School General Education Department, Academic Year 2017. (1st time). Bangkok: National Buddhism Office.
National Buddhism Office (2017). Phrariyattidhamma Study Group Department of
General Education. Information on educational management at
Phrapariyattidhamma School General Education Department, Academic Year 2017. (1st time). Bangkok: National Buddhism Office.
Phramahathavorn Khantidhammo. (2006). "The role of monks and temples in
Promoting Buddhist schools for development and problem solving". A
Complete Research Projects. Yanasangvorn Research Institute: Mahamakut Buddhist University.
Phramahasombat Thanapanyo (Chalong). (2014). “Buddhist strategies in the
Administration of Phrapariyattidhamma School. Department of General
Education”. Ph.D. Thesis Department of Buddhist Educational
Administration. Graduate School: Mahachulalongkornrajavidyalaya
University.
Phramahathana Tantippalo (Saennarong). (2019). "Buddhist management model of the
Office of the Promotion of Non-Formal and informal education in the Lower
North region". Ph.D. (Department of Buddhist Administration of
Education). Graduate School: Mahachulalongkornrajavidyalaya University.
Prathana Klaupadak, Somsak Kongtiang. (2001). Principles and Theories of
Educational Administration. Bangkok: Ramkhamhaeng University Press.
Prawit Erawan. (2005). “Development of Model for Empowerment of Teachers in
Schools: A Case Study of the Demonstration School of Mahasarakham
University”. Doctor of Education Thesis. Graduate School: Srinakharinwirot University, Prasarnmit.
Pornchulee Achawamrung. (1995). “Thai education model that is balanced with the
context of Thai society in the 21st century”. Research Report. Bangkok:
Chulalongkorn University.
The office of Education Standards and Quality Assessment (Public Organization). (2013). External Quality Assessment Report Basic education level, (third cycle). Bangkok: Office for National Education Standards and Quality Assessment (Public Organization).
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2021 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความวิชาการและบทความวิจัยในวารสารฉบับนี้ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนเท่านั้น บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตศาส์น ถือเป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์