การพัฒนาทักษะการเขียนของนักเรียนออทิสติกโดยใช้ชุดฝึกลีลามือ
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัฒถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของชุดฝึกลีลามือเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนของเด็กออทิสติกโดยใช้ตามเกณฑ์มาตรฐาน 70/70 (2) เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิผลของการเรียนด้วยชุดกิจกรรมลีลามือของนักเรียนออทิสติก (3) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาทักษะการเขียนของนักเรียนออทิสติกโดยใช้ชุดฝึกลีลามือ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนออทิสติก จำนวน 10 คนได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง คือ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลการวิจัยประกอบด้วย (1) ชุดฝึกลีลามือ (2) แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล IEP (3) แผนการสอนเฉพาะบุคคล IIP และ (4) แบบทดสอบวัดความสามารถด้านการเขียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย พบว่า (1) ชุดฝึกลีลามือเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนของนักเรียนออทิสติมีประสิทธิภาพ 70.42/81.38 (2) ดัชนีประสิทธิผลของชุดฝึกลีลามือ มีค่าเท่ากับ 0.7091 แสดงถึงนักเรียนออทิสติกมีความก้าวหน้าทางการเรียน (E.I.) คิดเป็นร้อยละ 70.91 (3) แนวทางการพัฒนาทักษะการเขียนของนักเรียนออทิสติกโดยใช้ชุดฝึกลีลามือเป็นไปในทิศทางที่ดีขึ้นตามสมมติฐานที่ตั้งไว้
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2543). คู่มือการคัดแยกและส่งต่อผู้พิการเพื่อการศึกษา. กรุงเทพฯ:
โรงพิมพ์คุรุสภา.
กรมวิชาการ. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (พ.ศ. 2543 และ พ.ศ. 2553). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อักษรไทย
กรมวิชาการ. (2551). พระราชบัญญัติการจัดศึกษาสำหรับคนพิการ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อักษรไทย
กรองทอง จุลิรัชนีกร. (2554). การจัดการศึกษาสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษระดับปฐมวัย.
พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กุลยา ก่อสุวรรณ. (2553). การสอนเด็กที่มีความบกพร่องระดับเล็กน้อย. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
กุลยา ตันติผลาชีวะ. (2547). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ:
เอดิสันเพรสโปรดักส์จำกัด
นฤมล เฉียบแหลม. (2545). การศึกษาพัฒนาการด้านการเขียนของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาแบบธรรมชาติ. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาปฐมวัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
พูนสุข บุณย์สวัสดิ์. (2552). เมื่อหนูน้อยหัดเขียน. พิมพ์ครั้งที่4. กรุงเทพฯ: อักษรสัมพันธ์.
เยาวพา เดชะคุปต์. (2542). กิจกรรมสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
เรวดี หงส์สุดตา. (2553). การพัฒนาความสามารถในการอ่านและการเขียนภาษาไทย สำหรับนักเรียน บกพร่องทางสติปัญญา ระดับเรียนได้ โดยใช้ชุดฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคำประกอบภาพที่เน้นเทคนิคการวิเคราะห์งาน. ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์. (2545). เอกสารประกอบการสอนวิชา 0506703 พัฒนาการเรียนการสอน. มหาสารคาม: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ศุษมา อิ่มเอิบ. (2556). การพัฒนาชุดฝึกลีลามือเพื่อส่งเสริมความพร้อมด้านการเขียนของเด็กปฐมวัย กรณีศึกษา : ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัด วัดบางพลีใหญ่กลาง. วิทยานิพนธ์ สาขาหลักสูตรและ การสอน มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ.
สาธิตา จักรบุตร. (2550). ผลการใช้กิจกรรมสร้างสรรค์ที่มีต่อความสามารถด้านการใช้กล้ามเนื้อ มัดเล็ก การ ประสานงานระหว่างมือและตา และความสามารถด้านการเขียนสีลาเส้นกรณีศึกษาเด็กออทิสติก ระดับอนุบาล โรงเรียนเทศบาลบ้านหนองแวง จังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต (จิตวิทยาการศึกษา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
สายฤดี วรกิจโภคาทร. (2533). รักลูกให้ถูกทาง. กรุงเทพฯ: สยามสปอร์ตพริ้นติ้ง.
สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์. (2544). การประเมินแนวใหม่ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ: การประเมินการสร้าง ความรู้ จักนักเรียน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สุกัญญา วงศ์กลาง. (2558). การพัฒนาการเขียนของเด็กอายุ 6 ปี ที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาที่ระดับ 50-69 โดยใช้ชุดสนุกลากเส้น. วิทยานิพนธ์ สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏ
วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.
Green, S. A., Rudie, J. D., Colich, N. L., Wood,J. J.. Shirinyan, D.. Hernandez, L..
Bookheimer, S. Y. (2013). Over-Reactive Brain Responses to Sensory Stimuli in Youth With Autism Spectrum Disorders RH: fMRI Response to Sensory Stimuli in ASD. Journal of the American Academy of Child and Adolescent Psychiatry, 52(11), 10.1016j.jaac.2013. 1008.1004.doi:10.1016j.jaac.2013.08.004
Hill, A. P., Zuckerman, k. E., Hagen, AD. Kriz, D. J. Duvall, S. W., Santen, J., Nigg, J. Fair, D., & Fombonne, E. (2014). Aggressive Behavior Problers in Children with Autism SpectrumDisorders: Prevalence and Correlates in a Large Clinical Sample. Res Autism Spectr Disord, 8(9), 1121-1133
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความวิชาการและบทความวิจัยในวารสารฉบับนี้ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนเท่านั้น บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตศาส์น ถือเป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์