การพัฒนาชุดการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
คำสำคัญ:
ชุดการสอน, ความสามารถการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาชุดการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถการแก้โจทย์ปัญหาทาง คณิตศาสตร์สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 2) เพื่อเปรียบเทียบ ความสามารถการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์หลังเรียนกับเกณฑ์ร้อยละ 60 3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนโดยชุดการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถการแก้โจทย์ปัญหาทาง คณิตศาสตร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยชุดการ สอนเพื่อส่งเสริมความสามารถการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3 โรงเรียนสารสาสน์วิเทศคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี ที่กาลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จานวน 37 คน ซึ่งผู้วิจัยสุ่มตัวอย่างโดย ใช้วิธีการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) ชุดการสอนเพื่อ ส่งเสริมความสามารถการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ 2) แบบวัดความสามารถการแก้โจทย์ปัญหาทาง คณิตศาสตร์ 3) แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยชุดการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถการแก้โจทย์ปัญหาทาง คณิตศาสตร์สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติตรวจสอบสมมติฐาน t-test for dependent samples และ t-test for One sample
ผลการวิจัยพบว่า 1) ชุดการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์สาหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีประสิทธิภาพ 75.98/77.43 2) นักเรียนมีความสามารถการแก้โจทย์ปัญหา ทางคณิตศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (t = 3.05*, sig. = .004) 3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้ชุดการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถการแก้โจทย์ปัญหาทาง คณิตศาสตร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (t =17.31*, sig. = .000) 4) ความพึงพอใจภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ความพึงพอใจภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (4.66, .. x SD = 061)
References
กชกร พัฒเสมา. (2558). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์เรื่องการบวก ลบ คูณ หารระคน
สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จันทบุรี: มหาวิทยาลัย
ราชภัฏราไพพรรณี
กระทรวงศึกษาธิการ.(2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร:
กระทรวงศึกษาธิการ
กลชาญ อนันตสมบูรณ์. (2557). การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เคลื่อนที่
(m-Learning) ในมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย. มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย.
เจริญขวัญ โรจนพงศ์สถาพร. (2561). การพัฒนาชุดการเรียนตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ร่วมกับการใช้
เทคโนโลยีการเรียนรู้แบบเคลื่อนที่ (Mobile Learning) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชา
คณิตศาสตร์เรื่อง เลขยกกาลัง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี.
กระทรวงศึกษาธิการ
ชญาภา ใจโปร่ง. (2554). กิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ ที่เลือกใช้กลยุทธ์ในการแก้ปัญหาที่
หลากหลาย เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ฟังก์ชัน
สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สงขลา:
มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ
ณเอก อึ้งเสือ. (2555). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เรื่อง งานประดิษฐ์ใบตอง สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต).
ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
ธันย์วรัชญ์ วงษ์ตั้นหิ้น. (2558). การพัฒนาชุดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง ปริพันธ์ สาหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์. 2(1), 47-62
นวพร ชลารักษ์. (2558). บทบาทของครูกับการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 . วารสารวิชาการ
มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น. 9(1), 64-71
บุญชม ศรีสะอาด. (2556). วิธีการทางสถิติสาหรับการวิจัย เล่ม 1. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงทพฯ: สุวีริยาสาส์น
ประภัสสร แก้วพิลารมย์. (2554). การศึกษาทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์โดยใช้กิจกรรมการ
เรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es ที่เน้นกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา เรื่อง สมการเชิง
เส้นตัวแปรเดียวชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). ขอนแก่น:
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
วารี ธนะคาดี. (2553). การพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอน แบบสอนแนะให้รู้คิดร่วมกับการเรียนรู้แบบ
ร่วมมือ เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการให้เหตุผล ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และเจตคติต่อวิชา
คณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สกลนคร:
มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
วีรวัฒน์ ไทยขา และคณะ. (2558). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคดของโพลยาด้วยยุทธวิธี
การแก้ปัญหาเพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ที่มีสถานการณ์เป็น
ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. หลักสูตรวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และ
ภาษาอังกฤษ.17(3), 129-137
สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน). (2563). คู่มือการจัดสอบทางการศึกษา ระดับชาติ
ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 : กรุงเทพฯ
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2555). การวัดผลประเมินผลคณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ: ซี
เอ็ดยูเคชัน.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2560). คู่มือการใช้หลักสูตร กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560). กรุงเทพมหานคร
สุคนธ์ สินธพานนท์. (2553). นวัตกรรมการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาคุณภาพของเยาวชน. (พิมพ์ครั้งที่4).
กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจากัด 9119 เทคนิคพริ้นติ้ง.
เสาวลักษณ์ กันนิยม. (2554). การพัฒนาชุดการสอนสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง การดำรงชีวิต
ของพืช สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้วิธีการสอนแบบ 5E (Inquirycycle).
(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา.
อนุวัฒน์ เดชไธสง. (2553). ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนเรื่องเวกเตอร์โดยใช้โปรแกรม C.a.R. สาหรับ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 . (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
อุษณีย์ เสือจันทร์. (2553). การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง วิธีเรียงสับเปลี่ยน
และวิธีจัดหมู่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
Likert, R.A. (1932, May). “Technique for the Measurement of Attitudes,” Arch Psychological.
(140) : 1 – 55.
Conbach, L. Joseph. (1984). Essential of Psychology and Education. New York: Mc–Graw Hill
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความวิชาการและบทความวิจัยในวารสารฉบับนี้ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนเท่านั้น บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตศาส์น ถือเป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์