สมรรถนะของผู้บริหารกับความสุขของครูโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร
คำสำคัญ:
สมรรถนะของผู้บริหาร, ความสุขของครูบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบ1) สมรรถนะของผู้บริหารโรงเรียนสังกัด กรุงเทพมหานคร 2) ความสุขของครูโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร 3) ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะของผู้บริหารกับความสุขของครูโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างคือโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 57 โรง ผู้ให้ข้อมูล โรงเรียนละ 2 คน ประกอบด้วยผู้อำนวยการโรงเรียน จำนวน 1 คน และ ครูจำนวน 1 คน รวมผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 114 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับสมรรถนะของผู้บริหารตามแนวคิดของสำนักงานสำนักการศึกษากรุงเทพมหานครและความสุขของครูโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครตามแนวคิดของสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ มัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
References
เกียรติอนันต์ ล้วนแก้ว, “เมื่อThailand 4.0ถูกขับเคลื่อนด้วย Education 2.0,” วารสารสานปัญญา 26, 12 (มีนาคม 2560): 4.
ดำรงค์ ทิพย์โยธา, การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS, (ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553), 23-44.
แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานกรุงเทพมหานคร ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๙), ข.
พวงรัตน์ ทวีรัตน์, วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์, พิมพ์ครั้งที่ 8 (กรุงเทพมหานคร:
มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ, 2543), 60.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี, “สรุปสาระสำคัญ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๔,” 1-3.
สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์, การศึกษาในมุมมองใหม่, สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI: ทีดีอาร์ไอ),
เข้าถึงเมื่อ 2 เมษายน 2562, เข้าถึงได้จาก https://tdri.or.th/2014/07/bangkokbiz-2014-07-
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ, “กรอบทิศทางแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560–
,” 4.
สำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร, แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานกรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2546 – 2569), 5.
สำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร, แผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2564, กลุ่มงานแผนงานและสารสนเทศ
ส่วนนโยบายและแผนการศึกษา, (2564), 14.
Rensis Likert, New pattern of Management, (New York: McGraw-Hill Book Company, 1961), 74.
Lee J. Cronbach, Essentials of Psychological Testing, 3th ed. (New York: Harper & Row
Publisher, 1974), 161.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความวิชาการและบทความวิจัยในวารสารฉบับนี้ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนเท่านั้น บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตศาส์น ถือเป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์