ทักษะการบริหารกับการจัดการแหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 9
คำสำคัญ:
ทักษะการบริหาร, การจัดการแหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษาบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบ 1) ทักษะการบริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 2) การจัดการแหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 9 3) ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะการบริหารกับการจัดการแหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 9 กลุ่มตัวอย่าง คือ สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 9 จำนวน 52 แห่ง ผู้ให้ข้อมูลสถานศึกษาละ 2 คน ประกอบด้วย ผู้อำนวยการโรงเรียน 1 คน และครู 1 คน รวมผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 104 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามความคิดเห็น ตามแนวคิดทักษะการบริหารของกริฟฟินและการจัดการแหล่งเรียนรู้ตามแนวคิดของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
References
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 9, แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ,(สุพรรณบุรี: สพม.9,
, 114-122.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 9, แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ,(สุพรรณบุรี: สพม.9,
, 136-137.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่สิบสอง พ.ศ.2560-2564, พิมพ์ครั้งที่ 2 (กรุงเทพฯ: ), 1-2.)
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579, พิมพ์ครั้งที่ 1 (กรุงเทพฯ: พริก
หวานกราฟฟิค), 3.
Robert V. Krejcie, and Daryle W. Morgan, “Determining Sample Size for Research Activities,”
Journal for Educational and Psychological Measurement. 3, (November 1970): 607.
Likert’s Rating Scale, (Rensis Likert, New pattern of Management, (New York: McGraw-Hill
Book Press, 1961), 74.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความวิชาการและบทความวิจัยในวารสารฉบับนี้ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนเท่านั้น บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตศาส์น ถือเป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์