การบริหารงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตามหลักอิทธิบาทธรรมของผู้บริหารที่ส่งผลต่อมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดนนทบุรี
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตามหลักอิทธิบาทธรรมของผู้บริหาร สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดนนทบุรี 2) เพื่อศึกษามาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดนนทบุรี 3) เพื่อศึกษาการบริหารงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตามหลักอิทธิบาทธรรมของผู้บริหารที่ส่งผลต่อมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดนนทบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดนนทบุรี จำนวน 97 แห่งผู้ให้ข้อมูล จำแนกเป็น ผู้บริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และครู/ผู้ดูแลเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 291 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และสมการถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression Analysis)
References
กรมการปกครอง. (2545). คู่มือศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: สำนักบริหาร การศึกษาท้องถิ่น.
____________. (2551). คู่มือศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: สำนักบริหาร การศึกษาท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น.
คณะกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ (ก.พ.ป.). (2562). มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
บุญชม ศรีสะอาด และบุญส่ง นิลแก้ว. (2535). การอ้างอิงประชากรเมื่อใช้เครื่องมือแบบมาตรส่วนประมาณค่ากับกลุ่มตัวอย่าง. มหาสารคาม: การวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมมฺจิตฺโต). (2549). พุทธวิธีในการบริหาร (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
. (2551). ทำอย่างไรจึงเรียนเก่ง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
. (2552). พุทธวิธีบริหาร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2550). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม (พิมพ์รวมเล่ม 3 ภาคครั้งที่ 15). กรุงเทพฯ: จันทร์เพ็ญ.
สุมน อมรวิวัฒน์ และคณะ. (2545). การพัฒนาการศึกษาด้วยกระบวนการPDCA. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี สฤษดิ์วงศ์.
สุวิทย์ ภาณุจารี. (2563). การวิจัยทางการบริหารการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: นิติธรรมการพิมพ์.
พระจันทะคาด กลฺยาโณ (บลูม). (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างหลักอิทธิบาทธรรมของผู้บริหารกับการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนสังกัดสำนักงานการศึกษากรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย.
พระทวัฒชัย ธมฺมธโช (ถั่วเถื่อน). (2556). การใช้อิทธิบาทธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรโรงเรียนเมืองสุราษฎร์ธานี อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วิทยานิพนธ์ศาสนาศาสตร์มหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.
พระมหาวุฒิกร บัวทอง. (2552). การใช้หลักอิทธิบาท 4 ในการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารโรงเรียนตามความคิดเห็นของครูโรงเรียนพะปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษาในกลุ่ม 7. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต,
สุนิษา อาจอ่อนศรี. (2564). การบริหารงานวิชาการเชิงบูรณาการหลักอิทธิบาทธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการทำงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย.
อัมภาภรณ์ สายสิงห์. (2559). ความคาดหวังของผู้ปกครองต่อการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในอำเภอผาขาว จังหวัดเลย. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย.
กฤษณะ ไกรสี. (2564). การบริหารสถานศึกษา: ศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้ของชุมชน. บัณฑิตศึกษาปริทรรศน์วิทยาลัยสงฆ์นครสวรรค์, 9 (2), 47-53.
จุฑารัตน์ ยะตะนัง. (2557). การบริหารแบบมีส่วนร่วมตามเกณฑ์มาตรฐานศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติ ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบล ในเขตอำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, 2 (2), 73-82.
พระครูกิตติญาณวิสิฐ (ธนา กิตฺติญาโณ). (2557). การบริหารการศึกษาแบบคุณภาพตามหลักอิทธิบาทธรรม. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์, 1(2). 84-91.
วิมลวรรณ ศิริ และผดุง พรมมูล. (2561). การดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี. วารสารวิชาการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสวนดุสิต, 14(3), 237.
ชนิกานต์ เธียรสูตร. (2551). วงจร PDCA คือ อะไร?. สืบค้นเมื่อ 1 มีนาคม 2565, จาก
http://eduserv.ku.ac.th/km/index.php?option=com_content&task=view&id=137&Itemid=68
Likert, Rensis. (1967). The Method of Constructing and Attitude Scale. In Reading in Fishbeic, M (Ed.), Attitude Theory and Measurement. New York: Wiley & Son.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความวิชาการและบทความวิจัยในวารสารฉบับนี้ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนเท่านั้น บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตศาส์น ถือเป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์